กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11506
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริพร วรรธนาศรี, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T07:07:46Z-
dc.date.available2024-02-19T07:07:46Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11506-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการปรับตัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการปรับตัว และ (2) เปรียบเทียบ การปรับตัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการปรับตัวกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนอุทัยวิทยาคม จังหวัดอุทัยธานี จำนวน 1 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม มีจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการปรับตัว และ (2) แบบวัดการปรับตัว ที่มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับ เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการปรับตัวมีการปรับตัวหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการปรับตัวมีการปรับตัวหลังการทดลองกับในระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการปรับตัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอุทัยวิทยาคม จังหวัดอุทัยธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to develop self-adaptation of Mathayom Suksa 4 students of Uthai Wittayakom School in Uthai Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of self-adaptation of Mathayom Suksa 4 students before and after using a guidance activities package to develop self-adaptation; and (2) to compare the levels of self-adaptation of Mathayom Suksa 4 students at the completion of the experiment and during the follow up period. The research sample consisted of 40 Mathayom Suksa 4 students in an intact classroom of Uthai Wittayakom School in Uthai Thani province during the 2019 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop self-adaptation, and (2) a scale to assess self-adaptation, with reliability coefficient of .86. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research results showed that (1) the post-experiment self-adaptation level of the experimental group students was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .05 level of statistical significance; and (2) the self-adaptation level at the completion of the experiment of the experimental group students was not significantly different from its counterpart level during the follow up perioden_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons