Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรวัจน์ สารถวิล, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T08:37:46Z-
dc.date.available2024-02-19T08:37:46Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11515-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การของครู 2) ระดับความผูกพันต่อองค์การของครู 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การของครูกับความผูกพันต่อองค์การของครู และ 4) ปัจจัยคัดสรรที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร จำนวน 341 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเคร็จซี่และมอร์แกน จากนั้นสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การของครู ประกอบด้วย 7 ปัจจัย ได้แก่ ภาวะผู้นาของผู้บริหาร การมอบอำนาจตามโครงสร้างองค์การ การส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร วัฒนธรรมองค์การ ผลตอบแทน การสร้างบรรยากาศในการทำงาน และการได้รับการยอมรับนับถือ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .91, .93, .92, .87, .87, .93 และ .95 ตามลำดับ และแบบสอบถามเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การของครู ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร วัฒนธรรมองค์การ และภาวะผู้นำของผู้บริหารอยู่ในระดับมากที่สุด สำหรับการมอบอำนาจตามโครงสร้างองค์การ การได้รับการยอมรับนับถือ การสร้างบรรยากาศในการทำงาน และผลตอบแทนอยู่ในระดับมาก 2) ความผูกพันต่อองค์การของครูในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ การเต็มใจในการปฏิบัติงาน ความจงรักภักดีต่อองค์การ การยอมรับในเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ และความต้องการเป็นสมาชิกขององค์การ 3) ปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การของครูในสถานศึกษามีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .738 และ 4) ปัจจัยคัดสรร 5 ปัจจัยส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครูในสถานศึกษา ได้แก่ วัฒนธรรมองค์การ การได้รับการยอมรับนับถือ การมอบอำนาจตามโครงสร้างองค์การ ผลตอบแทน และการสร้างบรรยากาศในการทำงาน โดยร่วมกันพยากรณ์ร้อยละ 59.7 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectครู--ไทย--สุราษฎร์ธานี--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectครู--ไทย--ชุมพร--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพรth_TH
dc.title.alternativeSelected factors affecting the organizational commitment of teachers in School under the Secondary Educational Service Area Office SuratThani Chumphonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) selected factors related the organizational commitment of teachers; 2) level of organizational commitment of teachers; 3) the relationship between selected factors related the organizational commitment of teachers in schools and the organizational commitment of teachers in schools; and 4) selected factors affecting the organizational commitment of teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon. The research sample consisted of 341 teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Surat Thani Chumphon, all of whom were obtained by the Krejcie and Morgan’s sample size table and stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a questionnaire dealing with 7 selected factors related the organizational commitment of teachers, which were: leadership of executives, delegation of authority, promotion of personnel progress, organizational culture, compensation, creating a working atmosphere, and being respected recognition, with reliability coefficients of .91, .93, .92, .87, .87, .93 and .95, respectively, and a questionnaire dealing with the organizational commitment of teachers, with reliability coefficients of .93. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation, and stepwise multiple regression analysis. The research findings were as follows: 1) the overall of selected factors relevant the organizational commitment of teachers was rated at the high level, that ranked in order were the growth needs of personnel, the organizational culture, and the leadership of executives were rated at the highest level. The delegation of authority, the being respected recognition, the creating a working atmosphere and the compensation were rated at the high level; 2) the overall and each aspect of organizational commitment of teachers were rated at the highest level which were ranked by willing to work, loyalty, accept the goals and values of the organization, and to maintain the membership of that organization forever; 3) selected factors related the organizational commitment of teachers in school correlated positively at the high level, which as significant at the .01 level (r = .738); and 4) 5 selected factors affecting the organizational commitment of teachers were: organizational culture, being respected recognition, delegation of authority, compensation, and creating a working atmosphere. These factors could jointly predict 59.7% the organizational commitment of teachers which was significant at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons