Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพล จตุพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวสุ สุวรรณวิหค, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิดาภา พิศูทธินุศาสตร์, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T03:47:49Z-
dc.date.available2024-02-20T03:47:49Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11538-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะการใช้ปุ๋ยเคมีของประเทศไทย และ (2) พยากรณ์ปริมาณการนำเข้าปุ๋ยเคมีของประเทศไทย จำนวน 3 ชนิดที่สำคัญ ได้แก่ แม่ปุ๋ยไนโตรเจน แม่ปุ๋ยโพแทสเซียม และปุ๋ยผสมจากธาตุหลัก 3 ชนิด (ไนโตรเจน โพแทสเซียม และฟอสฟอรัส) การวิเคราะห์ใช้ข้อมูลทุติยภูมิ มีลักษณะเป็นอนุกรมเวลารายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 รวมข้อมูล 168 เดือน และใช้เทคนิคพยากรณ์ด้วยวิธีบอกซ์-เจนกิน หรือตัวแบบ SARIMA (p,d,q)(P,D,Q)s โดยกระบวนการพยากรณ์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การตรวจสอบความนิ่งของข้อมูล การกำหนดตัวแบบพยากรณ์เบื้องต้น การประมาณค่าพารามิเตอร์ การตรวจสอบความเหมาะสมของตัวแบบพยากรณ์ และการพยากรณ์ ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปริมาณการนำเข้าปุ๋ยเคมีของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะแม่ปุ๋ยไนโตรเจน แม่ปุ๋ยโพแทสเซียม และปุ๋ยผสม ในปี พ.ศ. 2564 การนำเข้าปุ๋ยเคมีทั้ง 3 ชนิด มีปริมาณเท่ากับ 2.2 พันล้านตัน 9.6 แสนตัน และ 8.2 แสนตัน ตามลำดับ คิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 2.9 หมื่นล้านบาท หนึ่งหมื่นล้านบาท และ 1.2 หมื่นล้านบาท ตามลำดับ โดยประเทศไทยนำเข้าปุ๋ยเคมีจาก จีน ซาอุดีอาระเบีย มาเลเซีย รัสเซียและการตาร์มากที่สุด สำหรับแม่ปุ๋ยฟอสฟอรัสพบว่าไทยสามารถผลิตใช้เองได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการในประเทศ และ (2) ตัวแบบที่เหมาะสมต่อการพยากรณ์การนำเข้าแม่ปุ๋ยไนโตรเจน แม่ปุ๋ยโพแทสเซียม และปุ๋ยผสม ได้แก่ SARIMA (0,0,0)(0,1,1)12 SARIMA (2,0,1)(0,1,1)12 และ SARIMA (1,0,0)(2,1,0)12 ตามลำดับ โดยพิจารณาจากตัวแบบพยากรณ์ที่ให้ค่าสถิติ AC และ SC ต่ำสุด สำหรับการพยากรณ์การนำเข้าแม่ปุ๋ยไนโตรเจน แม่ปุ๋ยโพแทสเซียม และปุ๋ยผสมของประเทศไทยออกไปข้างหน้า 12 เดือน (เดือนมกราคม-ธันวาคม พ.ศ. 2565) โดยเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2564 พบว่า การนำเข้าแม่ปุ๋ยไนโตรเจนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.12 การนำเข้าแม่ปุ๋ยโพแทสเซียมมีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 8.74 และการนำเข้าปุ๋ยผสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.74th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปุ๋ยวิทยาศาสตร์--ไทย--การนำเข้าth_TH
dc.titleการพยากรณ์อุปสงค์การนำเข้าปุ๋ยเคมีของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeForecasting import demand for chemical fertilizer of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was (1) to study the characteristics of chemical fertilizer usage in Thailand and (2) to forecast the import volume of chemical fertilizers into Thailand, for the three major types, namely, nitrogen fertilizers, potassium fertilizers, and compound fertilizers that contain three nutrients, namely, nitrogen, potassium, and phosphorus. The analysis used the secondary data, which was the monthly time series from January 2008 to December 2021, a total of 168 months, and used the forecasting method of the Box-Jenkins or SARIMA(p,d,q)(P,D,Q)s model. The forecasting process was divided into five steps: stationary test, forecasting model identification, coefficient estimation, diagnostic check for the suitable models, and forecasting, respectively. The empirical result showed that: (1) in 2021, chemical fertilizer import volumes tend to increase, particularly nitrogen fertilizer, potassium fertilizer, and compound fertilizer. The import volume of all three chemical fertilizers was 2.2 billion tons, 9.6 hundred thousand tons, and 8.2 hundred thousand tons, respectively, which were worth 2.9 ten billion baht, ten billion baht, and 1.2 ten billion baht, respectively. China, Saudi Arabia, Russia, Malaysia, and Qatar were the countries from which Thailand imported the most chemical fertilizer in 2021; and (2) The suitable models for forecasting the import volume of nitrogen fertilizers, potassium fertilizers and compound fertilizers by considering the lowest AC and SC were SARIMA(0,0,0)(0,1,1)12, SARIMA(2,0,1)(0,1,1)12, and SARIMA(1,0,0)(2,1,0)12, respectively. The forecasts for the next 12 months (January to December 2022) compared to the total import volume of 2021 revealed that the total import volume of nitrogen fertilizer will increase by 5.12%, that the total import volume of potassium fertilizer will decrease by 8.74%, and that the total import volume of compound fertilizer will increase by 4.74%en_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons