Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยฉัตร ล้อมชวการth_TH
dc.contributor.authorกัญญ์วรา ศิริสมบูรณ์เวช, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T05:54:49Z-
dc.date.available2024-02-20T05:54:49Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11543en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (การบูรณาการการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับข่าวสาร การใช้ประโยชน์จากข่าวสาร และความพึงพอใจข่าวสารเกี่ยวกับโรคโควิด 19 ของผู้ติดตามเฟซบุ๊กเพจของกระทรวงสาธารณสุข 2) เปรียบเทียบการเปิดรับข่าวสาร การใช้ประโยชน์จากข่าวสาร และความพึงพอใจข่าวสารตามลักษณะทางประชากรของผู้ติดตามเฟซบุ๊กเพจ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร การใช้ประโยชน์จากข่าวสาร และความพึงพอใจข่าวสาร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดตามเฟซบุ๊กเพจของกระทรวงสาธารณสุขที่เปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับโรคโควิด 19 จำนวน 400 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบสหสัมพันธ์พหุคูณ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย 1) การเปิดรับข่าวสาร การใช้ประโยชน์จากข่าวสาร และความพึงพอใจข่าวสารเกี่ยวกับโรคโควิด 19 ของผู้ติดตามเฟซบุ๊กเพจของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า กลุ่มตัวอย่างเปิดรับข่าวสารผ่านสมาร์ทโฟน มีระยะเวลาในการติดตามข่าวสาร 2 ปีขึ้นไป ความถี่ในการเปิดรับข่าวสารไม่ได้เปิดทุกสัปดาห์ ช่วงเวลา 09.01 – 12.00 น. มีระยะเวลาเฉลี่ยต่อครั้งในการเปิดรับข่าวสารน้อยกว่า 15 นาที เปิดรับข่าวสารเป็นประจำในประเด็นสถานการณ์การแพร่ระบาดในพื้นที่ต่างๆ โดยมีการใช้ประโยชน์จากข่าวสาร สถานการณ์การแพร่ระบาด มีความพึงพอใจในข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือมากที่สุด 2) เปรียบเทียบการเปิดรับข่าวสาร การใช้ประโยชน์จากข่าวสาร และความพึงพอใจข่าวสารตามลักษณะทางประชากรของผู้ติดตามเฟซบุ๊กเพจ พบว่า ลักษณะทางประชากร ได้แก่ อายุ อาชีพ และรายได้ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการเปิดรับข่าวสารแตกต่างกัน อาชีพที่แตกต่างกันมีผลต่อการใช้ประโยชน์จากข่าวสารแตกต่างกัน อาชีพและรายได้ที่แตกต่างกันมีผลต่อความพึงพอใจข่าวสารแตกต่างกัน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร การใช้ประโยชน์จากข่าวสาร และความพึงพอใจข่าวสาร พบว่า การเปิดรับข่าวสาร ด้านระยะเวลาในการติดตามข่าวสาร มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์จากข่าวสาร ด้านการรู้เหตุการณ์ และมีความพึงพอใจข่าวสารด้านความถูกต้อง น่าเชื่อถือ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบูรณาการการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสื่อสารในการจัดการภาวะวิกฤตth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์ในการแพทย์th_TH
dc.titleการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของกระทรวงสาธารณสุขในการสื่อสารภาวะวิกฤตโรคโควิด 19th_TH
dc.title.alternativeMinistry of Public Health’s use of online social media to communicate about the COVID-19 crisisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (การบูรณาการการสื่อสาร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study followers of the Ministry of Public Health’s Facebook page in terms of their exposure to, utilization of and satisfaction with news about COVID-19 on the page; 2) to compare the page followers’ level of exposure to, utilization of and satisfaction with the news when sorted by their demographic factors; 3) to study the correlations between exposure to, utilization of and satisfaction with the news. This was a survey research. The sample population was 400 followers of the Ministry of Public Health’s Facebook page who had read news about COVID-19 on the page. They were chosen through multi-level sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, ANOVA, multiple correlation analysis and Pearson’s correlation coefficient. The results showed that 1) most of the samples were exposed to COVID-19 news on the Ministry of Public Health’s Facebook page via their smart phones and had followed the news for 2 years or more. For frequency, they did not read it every week, but when they did, they most often looked at it during the time period 09.01 – 12.00, and usually read it for less than 15 minutes per time. The news they regularly read was about COVID-19 outbreaks in different areas. They utilized the news updates and outbreak situation case numbers. They were most satisfied with news that was accurate and credible. 2) A comparison of the page followers’ level of exposure to, utilization of and satisfaction with the news when sorted by their demographic factors showed that followers from different age groups, occupations and income levels had different levels of exposure to the news on the Facebook page. Page followers with different occupations utilized the news to different levels. The factors of occupation and income level also affected followers’ level of satisfaction with the news on the page. 3) As for correlations between exposure to, utilization of and satisfaction with the news, the factor of the length of time looking at the page was correlated to the level of utilization of the news in terms of awareness of events, and was correlated to satisfaction with the news in terms of opinion on its accuracy and credibility, to a statistically significant level at 0.05en_US
dc.contributor.coadvisorกมลรัฐ อินทรทัศน์th_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม29.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons