Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11544
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิมลิน ริมปิกุล | th_TH |
dc.contributor.author | นฤมล ศิริรัตนพงศ์ธร, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-20T06:01:37Z | - |
dc.date.available | 2024-02-20T06:01:37Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11544 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงสนับสนุนทางสังคม (2) ศึกษาระดับความรู้ด้านอาหาร (3) สำรวจพฤติกรรมบริโภคอาหาร (4) เปรียบเทียบความรู้ด้านอาหาร และ (5) เปรียบเทียบพฤติกรรมบริโภคอาหารของผู้ป่วยในที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรก่อนและหลังการให้โปรแกรมโภชนศึกษาโดยประยุกต์ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยในที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร จากประชากรผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในปี 2563 ทั้งหมด 141 คน สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ช่วงเดือนกรกฎาคม 2563 – มีนาคม 2564 จำนวน 78 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 39 คน โดยใช้เทคนิคในการจับคู่ที่มีลักษณะคล้ายกันมากที่สุด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และโปรแกรมโภชนศึกษาประยุกต์ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัย (1) แรงสนับสนุนทางสังคมก่อนการทดลองของทั้งสองกลุ่มอยู่ระดับต่ำ หลังการทดลองพบว่า แรงสนับสนุนทางสังคมของกลุ่มเปรียบเทียบเพิ่มขึ้นเป็นระดับปานกลาง กลุ่มทดลองเพิ่มขึ้นเป็นระดับสูง (2) ระดับความรู้ด้านอาหารก่อนการทดลองทั้งสองกลุ่มอยู่ระดับต่ำ หลังทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีความรู้เพิ่มเป็นระดับสูง กลุ่มเปรียบเทียบมีความรู้อยู่ระดับปานกลาง (3) ก่อนการทดลองของทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมบริโภคอาหารทอด ผัด เนื้อสัตว์ติดหนังติดมัน และขนมหวาน หลังการทดลอง พบว่า ทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงดีขึ้น คือ ลดกินอาหารทอดและของหวาน เลือกกินปลาหรือเนื้อสัตว์ไม่ติดหนังติดมันมากขึ้น (4) ก่อนการทดลองทั้งสองกลุ่มมีคะแนนเฉลี่ยของความรู้ด้านอาหารในระดับต่ำไม่แตกต่างกัน หลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (5) ก่อนการทดลอง กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมบริโภคอยู่ระดับปานกลางและมีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบ หลังการทดลอง พบว่า ทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมบริโภคอยู่ระดับดี แต่กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ระบบหัวใจและหลอดเลือด--โรค--แง่โภชนาการ | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมโภชนศึกษาโดยประยุกต์ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความรู้ และพฤติกรรมบริโภคอาหารของผู้ป่วยในที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of nutrition education program by applying social support theory based on food knowledge and consumption behavior among acute coronary syndrome in-patients at Naresuan University Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the research were to (1) study the degree of social support, (2) study the level of food knowledge, (3) survey food consumption behavior, (4) compare food knowledge and (5) compare consumption behavior of in-patients with acute coronary syndrome of Naresuan University Hospital before and after the implementation of nutrition education program with applied social support theory. The sample group consisted of 141 in-patients of Naresuan University Hospital diagnosed with acute coronary syndrome in 2020; obtained using purposive sampling. During July 2020 to March 2021, a total of 78 individuals were divided into treatment group and control group, each containing 39 individuals using most comparable pairing technique. Tools used in this research were questionnaires and nutrition education program with applied social support theory. Data were analyzed using descriptive statistic and t-test. The results revealed that (1) level of social support for both groups before treatment were low, but after treatment, there was moderate social support for the control group and high social support for the treatment group. (2) Food knowledge level for both groups were low before treatment, but became high for the treatment group and moderate for the control group after treatment. (3) Before treatment, food consumption behavior of both groups showed a preference for fried food, stir-fried food, fatty red meat and sweets, after treatment, consumption behavior was observed to be improved; showing less preference for fried food and sweets along with more preference toward fish and lean meat. (4) Both groups had statistically similar overall food knowledge score before treatment, while after treatment, the treatment group had a significantly higher overall food knowledge score than that of the control group (p<0.05). Lastly, (5) consumption behavior of the treatment group before treatment was ranked as moderate and the overall score was not different from that of the control group, but after treatment, consumption behavior of both groups were ranked good with the treatment group having a significantly higher overall score than the control group (p<0.05) | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สำอาง สืบสมาน | th_TH |
Appears in Collections: | Hum-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License