Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวศินา จันทรศิริth_TH
dc.contributor.authorธงชัย ลาหุนะ, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T06:52:15Z-
dc.date.available2024-02-20T06:52:15Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11550en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานการณ์การจัดการโครงการอาหารกลางวัน (2) ประเมินการจัดการโครงการอาหารกลางวัน (3) พัฒนาระบบการจัดการโครงการอาหารกลางวันแบบมีส่วนร่วม และ (4) เปรียบเทียบความพึงพอใจก่อนและหลังการพัฒนาระบบการจัดการโครงการอาหารกลางวันของผู้มีส่วนได้เสีย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย (1) กลุ่มผู้รับผิดชอบดูแลโครงการอาหารกลางวันจำนวน 12 คน (2) กลุ่มบุคลากรผู้ปรุงประกอบอาหารและจัดบริการอาหารกลางวัน จำนวน 6 คน (3) กลุ่มเกษตรกรและร้านค้าจำหน่ายวัตถุดิบ จำนวน 5 คน (4) ครูโรงเรียน จำนวน 53 คน ทั้งสี่กลุ่มเลือกแบบเจาะจง (5) นักเรียน จำนวน 700 คน และ (6) ผู้ปกครองของนักเรียนจำนวน 500 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างและเลือกแบบหลายขั้นตอนได้จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลมี 4 ชนิด ประกอบด้วย (1) แบบสอบถามมาตรฐานโครงการระบบสุขาภิบาลอาหารที่ดีและน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียน 9 มาตรฐาน (2) แบบประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงอาหารและห้องครัวของโรงเรียน (3) แบบประเด็นการสนทนากลุ่ม ค่า IOC เท่ากับ 0.95 และ (4) แบบประเมินความพึงพอใจก่อนและหลังการพัฒนาระบบการจัดการโครงการอาหารกลางวัน จัดทำเป็น 2 ชุด ได้แก่ และชุดที่ 1 สำหรับนักเรียน มีค่า IOC เท่ากับ 0.96 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) เท่ากับ 0.85 ชุดที่ 2 สำหรับครูและชมรมผู้ปกครองของนักเรียน มีค่า IOC เท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) เท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายจัดตามมาตรฐานโครงการระบบสุขาภิบาลอาหารที่ดีและน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียน 9 มาตรฐาน ภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย 8.31 (2) การประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงอาหารและห้องครัวของโรงเรียน 30 ข้อ ก่อนการพัฒนาการจัดการโครงการอาหารกลางวันไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงอาหาร ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (3) การพัฒนาระบบการจัดการโครงการอาหารกลางวันแบบมีส่วนร่วมเพื่อคุณภาพอาหารกลางวันของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โดยดำเนินการพัฒนาตามหลักสุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหารทั้ง 7 ประเด็น ได้แก่ (3.1) การพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยวัตถุดิบ (3.2) การพัฒนาด้านสถานที่ (3.3) การพัฒนาด้านภาชนะอุปกรณ์ (3.4) การพัฒนาด้านการปรุงประกอบอาหารและการจัดรายการอาหารกลางวัน (3.5) การพัฒนาด้านบุคลากรปรุงประกอบอาหารและจัดบริการอาหารกลางวัน (3.6) การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดบริการอาหารกลางวัน และ (3.7) การพัฒนาด้านการจัดการโลจิสติกส์อาหารที่เหมาะสมต่อการจัดบริการโครงการอาหารกลางวัน และ (4) นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อคุณภาพอาหารกลางวันหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ<0.01 ส่วนด้านครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายกลับพบว่า มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อคุณภาพอาหารกลางวันและระบบการจัดการโครงการอาหารกลางวันหลังสูงกว่าก่อนการพัฒนาเล็กน้อย แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--อาหาร--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectการบริหารโครงการth_TH
dc.subjectอาหารกลางวันth_TH
dc.titleการพัฒนาการจัดการโครงการอาหารกลางวันแบบมีส่วนร่วมเพื่อคุณภาพอาหารในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of participatory lunch project management for food quality in the Demonstration School of Chiang Rai Rajabhat University Chiang Raien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was a research and development. The objectives were: (1) to study the situation of lunch project management; (2) to assess the management of the lunch project; (3) to develop a participatory lunch project management system; and (4) to compare the satisfaction before and after the development of the lunch project management system of the stakeholders of the Demonstration School of Chiang Rai Rajabhat University. The population and sample consisted of (1) a group of 12 people in charge of the lunch program (2) A group of personnel who cook and provide lunch service, totaling 6 people, (3) a group of farmers and raw material stores, 5 people, (4) school teachers, 53 people, all four groups chosen by specific samplings (5) 700 students and (6) parents of 500 students selected by determining the sample size and selecting a multi-step method for 88 students. There were four types of data collection tools; (1) a questionnaire of the good food sanitation and drinking water system project standards in 9 Schools; (2) an assessment form of the food sanitation standards form for school cafeteria and kitchen; (3) a list of group discussion issues, the IOC value was 0.95 and (4) a satisfaction assessment form before and after the lunch project management system development divided into 2 sets. The first set used for students had the IOC value of 0.96 and the reliability level was 0.85. The second set used for teachers and students' parents' club had an IOC value of 1.00 and the reliability level was 0.98. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation statistics and t-test. The results showed that (1) the lunch program of Demonstration School Chiang Rai Rajabhat University was organized according to 9 standards of good food sanitation and clean drinking water in school. The overall quality was at a very good level with an average of 8.31.(2) The assessment of 30 items of food sanitation standards for cafeterias and school kitchens prior to the development of the management of the lunch program did not meet the criteria for food sanitation for cafeterias of the Department of Health, Ministry of Public Health. (3) Development of a participatory lunch project management system for the quality of lunch of the Demonstration School of Chiang Rai Rajabhat University, the development was carried out in accordance with good hygienic principles in food production in all 7 areas, namely; (3.1) development of quality and safety of raw materials of (3.2) development of location (3.3) development of utensils and equipment (3.4) development of cook and organize lunch menu (3.5) development of personnel for cooking and serving lunch (3.6) development of packaging for lunch service (3.7) development of food logistics management suitable for organizing the lunch project service and (4) the students and their parents had a statistical significantly higher level of satisfaction with the quality of lunch after development than before at a level of < 0.01. For the teachers of the Demonstration School of Chiang Rai Rajabhat University, the average satisfaction with the lunch quality and the lunch project management system was slightly higher than before the development. Thus, there was no statistically significant difference at the 0.05 levelen_US
dc.contributor.coadvisorศริศักดิ์ สุนทรไชยth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม35.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons