Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11553
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธิติพัฒน์ เอี่ยมนิรันดร์ | th_TH |
dc.contributor.author | พระครูพิพิธวรกิจจาทร (เผชิญ จันทร์หอม), 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-20T07:15:20Z | - |
dc.date.available | 2024-02-20T07:15:20Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11553 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่นการเมือง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อ 2) การรับรู้ภาพลักษณ์ปัจจุบัน 3) ภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ 4) การเปรียบเทียบภาพลักษณะที่พึงประสงค์ กับภาพลักษณ์ปัจจุบัน 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อกับการรับรู้ภาพลักษณ์ปัจจุบัน และภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารในทัศนะของประชาชนที่มาท่องเที่ยวและร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่มาท่องเที่ยวและร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาที่วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 โดยใช้ตารางของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 416 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม การวิเคราะห์สถิติใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนและค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) การเปิดรับข่าวสารการดำเนินงานและการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามพันธกิจของวัดอยู่ในระดับมาก โดยมากที่สุดคือ ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา รองลงมาคือ ด้านการปกครอง ด้านงานสาธารณูปการภายในวัด ด้านงานสาธารณะสงเคราะห์การศึกษาสงเคราะห์ และด้านการจัดการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไป ตามลำดับ และมีความถี่ของสื่อที่เปิดรับอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีการเปิดรับข่าวสารจากสื่อ/กิจกรรมเกี่ยวกับสื่อใหม่ มากกว่าสื่อ/กิจกรรมเกี่ยวกับสื่อดั้งเดิม 2) การรับรู้ภาพลักษณ์ปัจจุบันอยู่ในระดับมาก โดยมากที่สุดคือด้านเอกลักษณ์ขององค์กร รองลงมาคือ ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านชื่อเสียง ด้านการให้บริการ และด้านการติดต่อระหว่างบุคคล ตามลำดับ 3) การรับรู้ภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก โดยมากที่สุดคือด้านเอกลักษณ์ขององค์กร รองลงมาคือ ด้านสภาพแวดล้อมทาง ด้านชื่อเสียง ด้านการให้บริการ และด้านการติดต่อระหว่างบุคคล ตามลำดับ 4) การรับรู้ภาพลักษณ์ปัจจุบันน้อยกว่าภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ ทั้งด้านชื่อเสียง ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านการให้บริการ ด้านการติดต่อระหว่างบุคคล และโดยภาพรวม 5) การเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อในด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ด้านการปกครอง ด้านงานสาธารณูปการภายในวัด ด้านงานสาธารณะสงเคราะห์การศึกษาสงเคราะห์ ด้านการจัดการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไป และการเปิดรับสื่อฯ โดยรวม มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาพลักษณ์ปัจจุบันและภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ของวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร | th_TH |
dc.subject | ภาพลักษณ์องค์การ | th_TH |
dc.title | ภาพลักษณ์วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร | th_TH |
dc.title.alternative | Image of Wat Rakhang Khositaram Woramahawihan | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study visitors to Wat Rakhang Khositaram Woramahawihan in terms of 1) their exposure to news about the temple in the media; 2) their awareness of the current image of the temple; 3) the desired image of the temple; 4) desired characteristics of the temple compared to its current image; 5) correlations between temple visitors’ exposure to news about the temple, their awareness of its current image and their opinions of the desired image. This was a quantitative research. The study population was people who came to Wat Rakhang Khositaram Woramahawihan for tourism or to join in Buddhist activities from December 2021 to February 2022. Using the Taro Yamane method at 95% confidence, a sample population of 416 was determined. The data collection tool was a questionnaire. Statistical analysis techniques included percentage, mean, standard deviation, analysis of variance and Pearson’s correlation co-efficient. The results showed that 1) The majority of people surveyed had a high level of exposure to news about the temple’s operations, mission and activities. By topic, they were exposed to news about Buddhist missionary work the most, and to a lesser degree to news about the temple’s administration, public facilities and construction inside the temple, public works, support of education, and education for monks, novices and lay people, in that order. The frequency of most respondents’ exposure to news about the temple was at medium level. They reported being exposed to news and activities via new media more than via conventional media. 2) The samples had a high level of awareness of the current image of Wat Rakhang Khositaram Woramahawihan. The component of the image they were the most aware of was the temple’s organizational identity, followed by physical environment, reputation, services, and inter-personal interaction, in that order. 3) The temple visitors also had a high level of awareness of the temple’s desired image. By topic, they had the highest awareness of organizational identity, followed by physical environment, reputation, services, and inter-personal interaction, in that order. 4) The overall level of awareness of the current image was greater than awareness about the desired image in terms of reputation, physical environment, services, inter-personal interaction and overall. 5) Respondents’ exposure to news about the temple’s Buddhist missionary work, administration, public facilities and construction inside the temple, public works, support of education, and education for monks, novices and lay people, as well as overall exposure to news about Wat Rakhang Khositaram Woramahawihan in the media was correlated to their awareness of the current image and desired image to a statistically significant degree at level 0.05 | en_US |
dc.contributor.coadvisor | หัสพร ทองแดง | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License