Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์th_TH
dc.contributor.authorอมรรัตน์ ลออจันทร์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T07:06:16Z-
dc.date.available2022-08-27T07:06:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1157en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาและอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (2) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาและอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และ (3) พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 367คน นักศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 196 คน และ อาจารย์ จำนวน 132 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอยางแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณคือการหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่เคยใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ โดยนักศึกษาส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์การใช้เพื่อทำรายงานและวิทยานิพนธ์ อาจารย์ใช้เพื่อหาข้อมูลจัดทำเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่สืบค้นสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ด้วยตนเอง สถานที่ที่นักศึกษาส่วนใหญใช้คือศูนย์คอมพิวเตอร์ และอาจารย์ ใช้ที่คณะ/ภาควิชา นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญใช้ ฐานข้อมูล ThaiLIS ความถี่ในการใช้ใช้ทุกวัน และต้องการผลการค้นคืนเป็นเอกสารฉบับเต็ม (2) นักศึกษาและอาจารย์มีปัญหาการใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายการเชื่อมต่อในระดับมาก ส่วนปัญหาด้านสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ด้านผู้ใช้บริการ และด้านผู้ให้บริการอยู่ในระดับปานกลาง (3) รูปแบบการส่งเสริมการใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาขึ้นโดยอิงแนวคิดการส่งเสริมการตลาดประกอบด้วย การประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อกิจกรรม สื่อโสตทัศน์และสื่อออนไลน์ การขายโดยบุคคลและการส่งเสริมการขายโดยผู้มีบทบาท ผู้เกี่ยวข้องคือผู้บริหาร อาจารย์ และบรรณารักษ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.20en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการใช้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a model for enhancing the use of electronic information by the Office of Acadmic Resources and Information Technology at Dhonburi Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.20-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the use of electronic information by the students and instructors of Dhonburi Rajabhat University, (2) to study the problems in the use of electronic information by the students and instructors, and (3) to develop a model to enhance the use of electronic information by the Office of Academic Resources and Information Technology at Dhonburi Rajabhat University. The samples were 367 undergraduates, 196 graduate students, and 132 instructors, using stratified random sampling. Instruments were questionnaires for students and instructors. The statistics used were frequency, mean and standard. Qualitative data was analyzed using content analysis and presented descriptively. The findings of study were (1) most students and instructors used electronic information. Most students had the objectives of writing reports and theses, and instructors of writing teaching materials. Most students and instructors retrieved electronic information at the computer center, while some instructors used the Faculty/ Department facilities. The database most used by students and instructors was ThaiLIS, on a daily basis and they want fulltext; (2) most students and instructors had problems in information technology and network connectivity at a high level, while electronic information, users and service providers, at a moderate level; (3) a model for enhancing the use of electronic information was developed applying the marketing promotion concept, comprised of public relations using printed media, media activities, visual media and online media, and through sale by individuals and sales promotion. These involved the roles of administrators, instructors, and librarians.en_US
dc.contributor.coadvisorจันทิมา เขียวแก้วth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (3).pdfเอกสารฉบับเต็ม16.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons