Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา ตั้งทางธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเอกพล หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกษณี สุจริตจันทร์, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-23T08:23:52Z-
dc.date.available2024-02-23T08:23:52Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11600-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ว่า รายจ่ายภาครัฐมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ โดยอาศัยเทคนิคการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติแบบ Cointegration and Error Correction แนวทางการศึกษาจำแนกออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นการทดสอบ Stationarity ของข้อมูลโดยใช้เทคนิค Unit Root Test ผลการทดสอบแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของการมีความสัมพันธ์ในระยะยาวระหว่างรายจ่ายภาครัฐโดยรวม รายจ่ายภาครัฐเพื่อการบริโภค และรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศส่วนที่สองเป็นการทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาว พบว่าทั้งรายจ่ายภาครัฐโดยรวมและรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนต่างก็มีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศขณะที่รายจ่ายภาครัฐเพื่อการบริโภคไม่พบความสัมพันธ์ดังกล่าวส่วนสุดท้ายเป็นการประมาณความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายภาครัฐกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศโดยประยุกต์ใช้แบบจำลอง Error Correction Mechanism ในการวิเคราะห์เชิงประจักษ์พบว่าในระยะยาวถ้ารายจ่ายภาครัฐโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 1.0012 ขณะที่ถ้ารายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9359 ส่วนในระยะสั้น การปรับตัวเพิ่มขึ้นของรายจ่ายภาครัฐโดยรวมร้อยละ 1 จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 0.5598 ขณะที่รายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3380th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเศรษฐมิติ--การวิเคราะห์th_TH
dc.subjectรายจ่ายของรัฐth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายภาครัฐกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศth_TH
dc.title.alternativeAn econometric analysis for testing the relationship between the government expenditure and gross domestic producten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to test the hypothesis that government expenditure gives rise to an increase in gross domestic product by using the technique of cointegration and error correction model. The study is divided into three parts. First, the unit root test which is the formal stationary’s detection technique used for empirical analysis. The results indicate that there are possibilities of the cointegration relationship between total government expenditure, general government consumption expenditure, gross fixed capital formation and gross domestic product. Second, the cointegration test, the results indicate that there is cointegrating relationship between total government expenditure and gross domestic product and between gross fixed capital formation and gross domestic product, but no relationship between general government consumption expenditure and gross domestic product. Finally, the empirical results support the error correction model which makes it possible to conclude that in the long run an increase of 1 percent of total government expenditure will increase gross domestic product by approximately 1.0012 percent. Similarly, an increase of 1 percent of gross fixed capital formation will result in an increase in gross domestic product by 0.9359 percent. As for the short run, the results indicate that 1 percent increase in the growth rate of total government expenditure and gross fixed capital formation will result in the growth rate of gross domestic product by approximately 0.5598 and 0.3380 percent respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79752.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons