Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11608
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริth_TH
dc.contributor.authorชไมพร อักษรศักดิ์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-27T04:05:14Z-
dc.date.available2024-02-27T04:05:14Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11608en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพภูมิสังคมของเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน ตำบลท่าลาด อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 2) กระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน ตำบลท่าลาด อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน ตำบลทำาลาด อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม และ 4) แนวทางการพัฒนากระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน ตำบลท่าลาด อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 50.43 ปี รายได้ดีเป็นสิ่งจูงใจ ในการปลูกพริกของเกษตรกร มีการจ้างแรงงานปลูกพริก เฉลี่ย 7.57 คน ประสบการณ์การปลูกเฉลี่ย 4.57 ปี ใช้พื้นที่ทำการปลูกพริกเฉลี่ย 0.91 ไร่ 2) การจัดการกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน พบว่าเกษตรกรปฏิบัติตามข้อกำหนดหลักการผลิตเมล็ดพันธุ์พริก ตั้งแต่การเตรียมดิน การเพาะกล้า การผสมเกสร การดูแลรักษาการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว 3) ปัญหาในการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน ส่วนใหญ่พบปัญหาด้านความต้องการสารชีวภัณฑ์ และแรงงานผสมเกสรไม่เพียงพอ เกษตรกรเสนอแนะให้มีการตรวจวิเคราะห์ดินและการบริการให้มีความรวดเร็วทันท่วงที ควรมีการอบรมความรู้ในด้านศัตรูพืช การใช้ชีวภัณฑ์ในการป้องกันกำจัดโรคแมลง และสนับสนุนสารชีวภัณฑ์ 4) แนวทางการพัฒนากระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน (1) ด้านการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร ได้แก่ การถ่ายทอดความรู้ในด้านการปรับปรุงดิน การจัดการศัตรูพืช การใช้สารชีวภัณฑ์ เทคนิคการผสมเกสร (2) ด้านการพัฒนากระบวนการผลิต ได้แก่ ส่งเสริมให้เกษตรกรจัดทำแผนการผลิต ทำแปลงพยากรณ์การระบาดของศัตรูพืช และนำเทคโนโลยีลดต้นทุนมาใช้ในการผลิต (3) ด้านการพัฒนาลดต้นทุนการผลิต ได้แก่ การส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์ การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินลดการใช้ปุ๋ยเคมี ส่งเสริมให้เกษตรกรจัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย เพื่อลดต้นทุนในการใช้วัสดุทางการเกษตรต่างๆ (4) ด้านการพัฒนากลุ่มและกระบวนการกลุ่ม ได้แก่ ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่ม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐและเอกชนเข้าสนับสนุนได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การแก้ไขปัญหา ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนและศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน เพื่อสนับสนุนและจำหน่าย ผลิตสารชีวภัณฑ์ และให้ความรู้และบริการด้านการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพริก--เมล็ดพันธุ์ --การผลิตth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนากระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกในโรงเรือน ตำบลท่าลาด อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeDevelopment guidelines of greenhouse chilli seed production process in Talad Sub-district, Renu Nakhon District, Nakhon Phanom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the socio-economic conditions of greenhouse chili seed producers in Talad Sub District, Renu Nakhon District, Nakhon Phanom Province, 2) the chili seed production process in greenhouses in Talad Sub District, Renu Nakhon District, Nakhon Phanom Province, 3) the problems of the chili seed production process in greenhouses in Talad Sub District, Renu Nakhon District, Nakhon Phanom Province and 4) guidelines for developing the greenhouse chili seed production process in Talad Sub District, Renu Nakhon District, Nakhon Phanom Province. The research was examined by mixed methods consisting of 1) quantitative research-- the data were collected by questionaries from the total population of 14 chili seed producers in the study area, and the statistics for data analysis were frequency, percentage, minimum, maximum, mean, and standard deviation; and 2) qualitative research-- the data were collected from 16 stakeholders by group meeting and analyzed by content analysis. The results showed that 1) most farmers were female, with an average age of 50.43 years old; good income was the main incentive for the farmers to produce chili seeds; they employed an average of 7.57 workers to grow chili, had an average planting experience of 4.57 years, and used an average chili planting area of 1,456 square meters. 2) As for the chili seed production process management in greenhouses, the farmers all strictly complied with the recommended principles for chili seed production from the soil preparation process, to the steps of planting seedlings, pollination, maintenance, harvesting and post-harvest operations. 3) Regarding problems of chili seed production in greenhouses, most farmers encountered difficulty obtaining enough biological products and adequate pollination workers. The farmers suggested they needed soil analysis with fast and prompt service, training on disease and pest analysis, training on use of bio-products to prevent and eliminate pests and diseases and support in the form of bio-products. 4) Guidelines for the development of the chili seed production process in greenhouses were: (1) Capability development for farmers: knowledge transfer on soil improvement, pest management, use of biological products and pollination techniques, (2) Production process development: promoting farmers to prepare production plans, make forecast plots to monitor pest outbreaks and use technology to reduce production costs, (3) Cost reduction development: promoting use of bio-products, fertilization according to soil analysis value, reduced use of chemical fertilizers, and promoting farmers to do income and expenses accounting to reduce the cost of using various agricultural materials, and (4) Group development and group processes: promoting farmers to form groups to get support from government and private sector agencies, knowledge exchange to solve problems, promoting the establishment of community soil management centers and community pest management centers for supporting and distributing biological products and providing knowledge and services on basic soil analysis.en_US
dc.contributor.coadvisorวรรธนัย อ้นสำราญth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons