Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11626
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธำรงเจต พัฒมุขth_TH
dc.contributor.authorมะลิสา ถือศิล, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-28T03:35:20Z-
dc.date.available2024-02-28T03:35:20Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11626en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชน อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2) ศึกษาสภาพการผลิต ต้นทุนผลตอบแทนและการกระจายเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันพันธุ์ชัยนาท 72 ของสมาชิกศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชน อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3) ประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันของเกษตร 4) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวมัน 5) เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตและการจัดการของศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชน ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรร้อยละ 85 เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 52.50 ปี มีรายได้จากภาคการเกษตร เฉลี่ย 185,400 บาท/ปี/ราย ร้อยละ 85 มีหนี้สินจากการลงทุนภาคการเกษตร 2) ในส่วนของสภาพการผลิต เกษตรกรมีประสบการณ์ปลูกถั่วเขียวผิวมันปลายฤดูฝนเฉลี่ย 10.20 ปี พื้นที่ปลูกเฉลี่ย 8.86 ไร่ และมีระดับความรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวมัน และระดับการปฏิบัติตามกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยรวม 2.99 และ 2.67 ตามลำดับ ผลผลิตเฉลี่ย 86.68 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนผลิตเฉลี่ย 2,623.51 บาทต่อไร่ อัตราผลตอบแทนร้อยละ - 9.82 เกษตรกรกระจายเมล็ดพันธุ์หลายช่องทาง ช่องทางที่ 1 จำหน่ายให้พ่อค้า ร้อยละ 100 ช่องทางที่ 2 ส่งคืนให้ศูนย์ฯ ร้อยละ 55.00 และช่องทางที่ 3 เก็บเมล็ดพันธุ์เอง ร้อยละ 30.00 3) ผลทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ มีค่าเฉลี่ยความบริสุทธิ์ความชื้น และอัตราการงอก ร้อยละ 88.13 7.41 และ 90.42 ตามลำดับ 4) ระดับปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวมัน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ (1) ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ดี (2) ต้นทุนการผลิตสูง (3) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ต่ำ (4) คุณภาพเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตได้ด้อยคุณภาพ (5) ปัญหาด้านความรู้ในเทคโนโลยีการผลิต ดังนั้น 5) ผลวิเคราะห์จุดแข็ง ได้แก่ ประธานศูนย์ฯมีความเป็นผู้นำและมีความเสียสสะ พื้นที่ปลูกเหมาะสม จุดอ่อน ได้แก่ คุณภาพผลผลิตต่อไร่ต่ำ เกษตรกรไม่ปฏิบัติตามกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ อุปสรรค ได้แก่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ขาดความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ถั่วชุมชน เมล็ดพันธุ์ที่ผลิตได้ขายได้ในราคาถูก และโอกาสได้แก่ มีการบริหารปัจจัยการผลิตให้แก่สมาชิก 2) ได้รับงบประมาณสนับสนุนปัจจัยการผลิตการจัดทำแปลงขยายเมล็ดพันธุ์ 6) กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาการผลิต คือ (1) ส่งเสริมพัฒนาความรู้ ทักษะกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ ได้แก่ การทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ก่อนเก็บหรือก่อนปลูก ฝึกปฏิบัติจริงจัดทำแปลงขยายพันธุ์ ลดปริมาณการใช้สารเคมี (2) ด้านการผลิตจัดทำโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันแบบลดต้นทุน (3) เชื่อมโยงการตลาดกับกลุ่มเกษตรกร (4) จัดตั้งกองทุนเมล็ดพันธุ์และ (5) บริหารจัดการศูนย์ฯให้มีความเข็มแข็ง โดยกำหนดบทบาทหน้าที่ระเบียบข้อปฏิบัติของศูนย์ให้ชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectถั่วเขียว--เมล็ดพันธุ์--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันของสมาชิกศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชนในอำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeDevelopment guidelines for mung bean seeds production of community bean seed center in Nongphai District, Phetchabun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research project are to 1) study the social and economic attribution of farmers in Nong Phai District, Phetchabun Province; 2) study the production conditions and return cost; 3) assess the quality of mungbean seed cultivar Chainat 72 in Nong Phai District, Phetchabun Province; 4) assess problems and obstacles in the production process of mungbean seed; 5) provide guidelines for the development of production and management of the community center for legume seed production in Nong Phai District, Phetchabun Province. This research project utilizes a mixed method. Data were collected from the total population of 20 members using questionnaires and data analysis, which were conducted using descriptive statistics, group discussions, and stepwise multiple regression SWOT Analysis and TOWS matrix Analysis. The results indicated that 1) 85% of the farmers are female, with an average age of 52.50 years, with an average income from the agricultural sector of 185,400 baht/year/person, and 85% of them have debts from investment in the agricultural sector. 2) The production conditions: farmers have an average of 10.20 years of experience in mungbean seed production (late rainy season), and the average planting areas per person were about 8.86 rai. The farmers had knowledge of mungbean seed production, and the level of compliance with the seed production process was moderate; the total mean values were 2.99 and 2.67, respectively, and the average yield of mungbean seed of 86.68 kg/rai. The average mungbean seed production cost was 2,623.51 baht/rai. The return on investment (ROI) average total was - 9.82 %. Seed distribution: 100.00%, 55.00%, and 30.00% of seeds were distributed to a merchant, returned to the community legume seed production center, and collected the seeds for their use, respectively; 3) Seed quality test results: the average purity, moisture content, and germination rate were 88.13%, 7.41%, and 90.42%, respectively. 4) Level of problems and obstacles in the production process of oily mungbean seeds: the overall averages were at a medium level, namely (1) lack of good seeds, (2) high production costs, (3) low average yield per rai, (4) inferior seed quality, and (5) knowledge problems in production technology, 5) strengths analysis, i.e., the center’s president is a leader and has a sense of dedication, and farmers have appropriate planting area. Weaknesses include low yield per rai and farmers not complying with the seed production process. Obstacles include the agricultural extension officer’s lack of knowledge and understanding in promoting seed production at community nut centers. Seeds that can be produced are sold at low prices and have opportunities such as having production factors managed for members and 2) receiving a budget to support production factors for preparing seed expansion plots. 6) Production development strategies and guidelines are: (1) Promote knowledge development and skills for seed production processes, including testing seed quality before harvesting or planting and practicing making the propagation plots and reducing the amount of chemical use. (2) Production: Set up a cost-saving mungbean seed production project. (3) Link marketing with farmers’ groups. (4) Set up a seed fund and (5) manage the center to be strong with specific roles, duties, and regulations that are clearly defined.en_US
dc.contributor.coadvisorวนาลัย วิริยะสุธีth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons