Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11636
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอ้อทิพย์ ราษฎร์นิยม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนภัทร วงษ์วิสิฏฐ์, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-28T06:45:55Z-
dc.date.available2024-02-28T06:45:55Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11636-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออุตสาหกรรมซุปไก่สกัดในประเทศไทย ทั้งทางด้านราคาและไม่ใช่ทางด้านราคา (2) ศึกษาการกำหนดราคาของ ผลิตภัณฑ์ซุปไก่สกัด ในช่วงปี พ.ศ. 2540-2545 จากผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าอุตสาหกรรมซุปไก่สกัดในปัจจุบันเป็นลักษณะโครงสร้างตลาดผู้ขาย น้อยรายและมีค่าการกระจุกตัวสูงที่ดัชนี HI เท่ากับ 0.62 - 0.91 ดัชนี CCI เท่ากับ 0.81 - 0.95 คำนวณจากยอดขายปี พ.ศ. 2540 - 2545 ซึ่งมีแนวโน้มลดลงแสดงให้เห็นว่าการแข่งขันในอุตสาหกรรมซุปไก่สกัดมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการทำรายได้ของอุตสาหกรรมซุปไก่สกัดมีมูลค่าสูง จึงเป็นจุดสนใจให้นักธุรกิจหันมาที่ธุรกิจ นี้มากขึ้น สำหรับพฤติกรรมการแข่งขันทางด้านราคาในอุตสาหกรรมซุปไก่สกัดพบว่ามีลักษณะกำหนดราคาของผู้ประกอบการรายใหญ่ได้ 2 ลักษณะ คือ การกำหนดราคาโดยคำนึงถึงต้นทุนส่วนเพิ่มและรายรับส่วนเพิ่มและการกำหนดราคาแบบ Rules of Thumb โดยผู้ประกอบการรายย่อยจะกำหนดราคาตามผู้นำราคาของผู้ประกอบการรายใหญ่ที่มีเทคโนโลยีในการผลิตสูงกว่าซึ่งมีผลผลิตต่อขนาดที่สูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง และเนื่องจากว่าผู้บริโภคมีความเชื่ออยู่กับสินค้าในยี่ห้อเดิม สำหรับกรณีของพฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่ใช่ราคาของอุตสาหกรรมซุปไก่สกัดพบว่าในแต่ละผู้ประกอบการพยายามผลิตสินค้าของตนเองให้มีความแตกต่างกันมากขึ้นในส่วนของสี รสชาติ ลักษณะการเปิดฝาที่ง่าย และ ลักษณะการบรรจุของผลิตภัณฑ์ที่เสนอขายต่อผู้บริโภค โดยอาศัยสื่อโฆษณาจากสื่อมวลชน เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วารสาร เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่ใช้กลยุทธเข้าถึงลูกค้าทุกกลุ่มมากขึ้น โดยการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับสังคมในลักษณะเช่นนี้ผู้ผลิตรายใหญ่มีความได้เปรียบในด้านงบประมาณที่มีมากกว่าผู้ผลิตรายเล็กจากการวิจัยครั้งนี้พบได้ว่า พฤติกรรมการแข่งขันทางด้านราคาโดยการกำหนดราคาที่ต่ำกว่านั้นไม่สามารถเพิ่มยอดขายได้มากขึ้นเท่าที่ควร แต่พฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่ใช่ราคาจะมีผลกระทบทำให้ยอดขายทางการตลาดเพิ่มขึ้น ดังนั้น ผู้ประกอบการไม่น่ามีความจำเป็นมากนัก ในการแข่งขันทางด้านราคา ควรจะมุ่งเน้นพฤติกรรมการแข่งขันไม่ใช่ราคามากกว่า สำหรับการกำหนดราคาควรให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตเพื่อให้สามารถกำหนดราคาได้เหมาะสมและเพื่อความเป็นธรรมต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องดื่มth_TH
dc.titleโครงสร้างและพฤติกรรมการแข่งขันของอุตสาหกรรมซุปไก่สกัดในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeStructure and competition behavior of chicken essence industry in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study aimed to (1) examine market structure and competitive behavior on price and non-price of chicken essence industry in Thailand, and (2) investigate pricing determination of chicken essence products during 1997-2002. Data of the study were collected from operating enterprises and related institutions by means of interviewing entrepreneurs in order to investigate the market structure. The measurement of industry concentration consisted of Herfindahl Index(HI), Comprehensive Concentration Index(CCI), and few seller’s market structure theory. In addition, to examine competitive behavior on pricing based on pricing and non-pricing theory, other approaches were used such as leading price, Rules of Thumb pricing and marginal pricing. The results were found that chicken essence industry was currently characterized by the market structure with oligopoly. HI value was ranged between 0.62-0.91, and CCI was 0.81-0.95. The trend of annual sales during 1997-2002 was decreased, indicating that competition in chicken essence industry tended to raise up due to highly attractive incomes. These activated more investors to join in this business. Concerning the competitive behavior for price, it was found that an investigation of pricing was conducted by marginal pricing (MC = MR) and rules of thumb pricing. The leading price was constituted by large firms with higher advanced technology and higher productivity. These reduced production cost, and were a result of customer’s traditional value in product brand preference. For non-pricing competitive behavior, it was found that each individual enterprise attempted to make their product more distinctively different in color, flavor, easy- to-open lid, packaging presented to customers via advertising media, such as TV, newspaper, journal, and etc. The marketing strategy commonly used was to reach more groups of customers, and social activities were arranged as a campaign. These were more a support to larger manufacturers than smaller manufactures due to their more available budget. It was found from the present study that the competitive behavior by lowering price did not work and could not increase sales as much as it could be. Non-pricing competitive behavior had impacts to an increased sales. It was not necessary for operating enterprises to compete in pricing, they however should focus increasingly on non-pricing competitive behavior . Appropriate pricing should be consistent with the production cost and equitable to both manufacturers and customersen_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
87920.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons