Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11638
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัย | th_TH |
dc.contributor.author | อมรรัตน์ พลอยบุษย์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-28T07:08:47Z | - |
dc.date.available | 2024-02-28T07:08:47Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11638 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี และ (2) ศึกษาปัจจัยที่กำหนดการบริโภคของผู้ถือบัตรเครดิต ซึ่งเป็นพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี มีความเป็นอิสระกับ เพศ อายุ สถานะภาพ การศึกษา และรายได้ แสดงว่ากลุ่มผู้ถือบัตรเครดิต มีพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงในการบริโภค ที่ไม่ขึ้นอยู่กับเพศ อายุ สถานะภาพ การศึกษา และรายได้ซึ่งจากการสำรวจและทดสอบ พบว่า ต่างก็มีพฤติกรรมในการบริโภคเพิ่มขึ้นเมื่อมีบัตรเครดิต ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 มีค่าความโน้มเอียงในการบริโภคหน่วยสุดท้าย (marginal propensity to consume) เท่ากับ 0.185 สำหรับปัจจัยที่กำหนดการบริโภคของผู้ถือบัตรเครดิต จากการศึกษาพบว่าการเพิ่มอำนาจในการจับจ่ายใช้สอยความสะดวก และการให้บริการที่ดีของสถาบันผู้ออกบัตรเครดิตกับร้านค้าที่รับบริการ โดยเฉพาะการคิดดอกเบี้ยหรือค่าธรรมเนียมที่ถูก เป็นปัจจัยที่ทำให้พฤติกรรมในการบริโภคของกลุ่มผู้ถือบัตรเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แห่งการกำหนดเท่ากับ 0.424 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | บัตรเครดิต | th_TH |
dc.subject | พนักงานโรงงานอุตสาหกรรม | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Spending behavior by using credit card of factory employees in Pathum Thani province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the behaviour of spending by the use of credit card among the groups of factory employees in Phathumthani Province, and (2) to study factors affecting consumption behaviour of credit card holders who were factory employees in Phathumthani. The sample groups were 99 factory employees in Phathumthani Province. Questionnaires were used to collect data. SPSS computer program was used to calculate the percentage, mean,standard deviation and Chi-square. Factors affecting consumption behaviour were analysed by using the multiple regression analysis . The results of the study indicated that the independent factors affecting the behaviour of spending by the use of credit card among the groups of factory employees comprised sex, age, education and level of income. This showed a change of their consumption behaviour that was not related to their sex, age, education and income. Their consumption behaviour was increased while they held the credit card at the significance level of 95 percent. The marginal propensity to consume was at 0.185. It was found from the study that factors affecting the consumption behaviour of credit card holders were an increase of spending power, convenience and good services of both the institutions issuing the card and the store that served. Specially, the institutions which required low interest and reasonable service charge were an important factor affecting an increase of consumption behaviour of credit card holders at the statistically significance level of 99 percent and the coefficient of determination (R2) was at 0.424. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปรัชญ์ ปราบปรปักษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License