Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11639
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภาสินี ตันติศรีสุข | th_TH |
dc.contributor.author | อัญชลี แสงหล่อ, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-28T07:15:17Z | - |
dc.date.available | 2024-02-28T07:15:17Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11639 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างตลาดของอุตสาหกรรมน้ำตาลทราย (2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขันด้านราคาและไม่ใช่ราคาของอุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ.2540 - พ.ศ.2546 และ (3)เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมน้ำตาลทราย ผลการศึกษา พบว่า (1) อุตสาหกรรมน้ำตาลทราย มีผู้ผลิต จำนวน 46 ราย เป็นอุตสาหกรรมที่จัดอยู่ในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด มีค่าการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมค่อนข้างต่ำโดย ดัชนี CR, ให้ค่าการกระจุกตัวประมาณร้อยละ 25.41 ดัชนี HHI มีค่าประมาณ 0.0311 ดัชนี CCI มีค่าประมาณ 0.0613 และดัชนี HK แสดงค่าผู้มีอิทธิพลในตลาดประมาณ 32 ราย (2) พฤติกรรมการแข่งขันมีทั้งด้านราคาและไม่ใช่ราคา ผู้ผลิตขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ให้ความสำคัญกับการแข่งขันด้านไม่ใช่ราคามากกว่าทางด้านราคา เครื่องมือในการแข่งขันไม่ใช่ราคาที่ผู้ผลิตน้ำตาลทรายนิยมใช้มากที่สุด คือ การพัฒนาเทคโนโลยีด้านการผลิตให้ทันสมัยเพื่อลดต้นทุนการผลิต (3) ปัญหาและอุปสรรคที่ผู้ผลิตน้ำตาลทรายส่วนใหญ่ประสบอยู่ คือ ปริมาณวัตถุดิบไม่เพียงพอกับกำลังการผลิตที่ได้รับอนุญาต และค่าขนส่งมีราคาสูงขึ้นมาก ซึ่งเกิดจากน้ำมันมีการปรับราคาสูงขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำตาล--ไทย | th_TH |
dc.subject | การแข่งขัน--ไทย | th_TH |
dc.subject | การแข่งขันทางการค้า | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์โครงสร้างตลาดและพฤติกรรมการแข่งขันของอุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | An analysis of market structure and conduct of sugar industry in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were: (1) to study the market structure of the sugar industry (2) to study and analyze the behavior of price and non-price competition of the sugar industry in Thailand between 1997-2003 and (3) to study the problems and obstructions of sugar industry. Methods used for the study of the market structure were: (1) Concentration Ratio : (Crn )(2) Herfindahl – Hirschman Index (HHI) , Comprehensive Concentration Index (CCI) and Hannah and Kay Index (HK). To conduct the price and non-price competitions, primary data were obtained by sending questionnaires to the 14 manufacturers. The research findings were that: (1) the sugar industry consistsed of 46 plants. The market could be classified as the monopolistic competition with a low level of industrial concentration. The CR5 index of concentration was 25.41 percent , HHI index was 0.0311 percent , CCI index was 0.0613 percent and from the HK index, it was found that there were approximately 32 influential manufacturers. (2) Competitive behaviour included both price and non-price strategies. Large, middle and small manufacturers prefered to use non-price strategy as a tool in the competition. And the strategy mostly used was the development of new technology to save their costs. (3) The major problems and obstructions faced by the manufactures were the insufficient quality of raw material in the the sugar industry in order to cope with and the production power permitted and the increase of transportation price which was a result of an increase of the oil price. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ฐกัด ศรีคำพร | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License