Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11641
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มนูญ โต๊ะยามา | th_TH |
dc.contributor.author | กมล กาญจนสิทธิ์, 2508- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-29T03:37:02Z | - |
dc.date.available | 2024-02-29T03:37:02Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11641 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ต้นทุนและผลได้ในเส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษ (2) วิเคราะห์ต้นทุนและผลได้ในเส้นทางการบินที่มีจุดพัก (3) เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนและผลได้ระหว่างเส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษ และเส้นทางการบินที่มีจุดพัก (4) เพื่อวิเคราะห์เชิงนโยบายระหว่างเส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษและเส้นทางการบินที่มีจุดพัก ผลการวิจัยพบว่า (1) เส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษมีต้นทุนค่าน้ำมันมีค่ามากที่สุดรองลงมาคือค่าเสื่อมราคาเครื่องบินและดอกเบี้ยจ่าย ลำดับที่สามคือค่าใช้จ่ายพนักงานในเที่ยวบินผลได้จากการขนส่งผู้โดยสารมีค่ามากที่สุด รองลงมาคือการขนส่งสินค้า ลำดับสามคือการขนส่งไปรษณียภัณฑ์ (2) เส้นทางการบินที่มีจุดพักนั้นมีต้นทุนและผลได้สามอันดับแรกไม่แตกต่างจากเส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษ (3) การเปรียบเทียบต้นทุนและผลได้พบว่าเส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษมีประสิทธิภาพสูงกว่าเส้นทางการบินที่มีจุดพัก (4) การเปรียบเทียบในเชิงนโยบายตามความ สูงระดับบริหารผู้ของเห็นคิด เส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษมีผลประโยชน์สุทธิเชิงนโยบายมากกว่าเส้นทางการบินที่มีจุดพัก เส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษและเส้นทางการบินที่มีจุดพักมีค่าอัตราส่วนต้นทุนต่อผลได้เท่ากับ 1.11 และ 1.03 ค่าอัตราผลตอบแทนเท่ากับร้อยละ 45 และร้อยละ 25 ค่าผลได้ที่ลดลงได้มากที่สุดเท่ากับร้อยละ 9.5 และร้อยละ 2.5 และค่าต้นทุนที่เพิ่มได้มากที่สุดเท่ากับร้อยละ 10.6 และร้อยละ 2.6 ตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | บริษัทการบินไทย--ต้นทุนและประสิทธิผล | th_TH |
dc.subject | เส้นทางการบิน | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลได้ระหว่างเส้นทางการบินพิสัยไกลพิเศษและเส้นทางการบินที่มีจุดพักของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | The comparison of cost-benefit analysis between the ultra long haul flight and the intercontinental flight of Thai Airways International PCL | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | จุไร ทัพวงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License