Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11669
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มนูญ โต๊ะยามา | th_TH |
dc.contributor.author | ภิญพรรณ สาครศิริ, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-01T03:05:05Z | - |
dc.date.available | 2024-03-01T03:05:05Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11669 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปและปัญหาในการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเพชรบุรี ทั้งวิธีการจัดเก็บข้อมูลทางตรงและทางอ้อม 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของ จังหวัดเพชรบุรีที่ได้จากวิธีการจัดเก็บข้อมูลทางตรงและทางอ้อม 3) วิเคราะห์เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเพชรบุรีแต่ละสาขาการผลิตทางด้านโครงสร้าง อัตราการเติบโต และดัชนีราคาระหว่างข้อมูลที่ได้จากการจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัดวิธีทางตรงและทางอ้อม และ 4) วิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมาะสมของข้อมูลที่ได้จากการคำนวณทั้งวิธีทางตรงและทางอ้อมสำหรับใช้ในการวางระบบข้อมูลเศรษฐกิจของจังหวัดเพื่อการวางแผนด้านเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบุรี ผลการศึกษาพบว่า 1) การจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเพชรบุรีเป็นไปตามกรอบแนวคิดของระบบบัญชีประชาชาติที่สามารถจัดทำได้สองวิธีจากวิธีการจัดทำข้อมูลที่แตกต่างกัน ปัญหาของการจัดทำวิธีทางตรง ได้แก่ ปัญหาด้านข้อมูล บุคลากร การบริหารจัดการ และงบประมาณ ส่วนปัญหาที่พบจากวิธีทางอ้อม ได้แก่ ปัญหาด้านข้อมูล และบุคลากร 2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดที่ได้จากวิธีทางตรงมีมูลค่าต่ำกว่าที่ได้จากวิธีทางอ้อมจำนวน 12 สาขาการผลิต และสูงกว่าวิธีทางอ้อมจำนวน 4 สาขาการผลิต 3) ความสัมพันธ์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดที่คำนวณจาก 2 วิธี มีโครงสร้างเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 5 สาขาการผลิต แตกต่างกัน 11 สาขาการผลิต อัตราการเติบโตเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 5 สาขาการผลิต แตกต่างกัน 11 สาขาการผลิต และดัชนีราคาเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 3 สาขาการผลิต แตกต่างกัน 13 สาขาการผลิต 4) การใช้ BCG Matrix วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากวิธีทางตรงสามารถทำได้ดีกว่าวิธีทางอ้อม เพราะข้อมูลที่ได้จากวิธีทางตรงมีความละเอียดและครอบคลุมกิจกรรมต่างๆได้มากกว่า | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเพชรบุรี ระหว่างวิธีการจัดเก็บข้อมูลทางตรงและทางอ้อม | th_TH |
dc.title.alternative | A comparative analysis of the compilation of gross provincial product of Phetchaburi province between the top down and bottom up methods | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สุริยา จันทรกระจ่าง | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
110182.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License