Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาสินี ตันติศรีสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประดี จิรภิวงศ์, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-01T08:10:09Z-
dc.date.available2024-03-01T08:10:09Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11674-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการผลิต การจำหน่ายและการส่งออกของอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ของประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทย - สาธารณรัฐประชาชนจีน - ญี่ปุ่น (3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการส่งออกของอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ของประเทศไทย (4) เพื่อศึกษาศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า (1) ประเทศไทยผลิตรถจักรยานยนต์ได้เฉลี่ยปีละ 1,633,326 คันจำหน่ายในประเทศได้เฉลี่ยปีละ 1,321,288 คันหรือร้อยละ 80.9 ส่งออกเฉลี่ยปีละ 312,038 คันหรือร้อยละ 19.1 (2) ญี่ปุ่นมีความได้เปรียบมากที่สุดในการเปรียบเทียบทั้งสามประเทศ ส่วนไทยมีความได้เปรียบรองจากประเทศญี่ปุ่น และสาธารณะรัฐประชาชนจีนมีความได้เปรียบเป็นลำดับสุดท้าย ซึ่งการแข่งขันรถจักรยานยนต์ส่งออก ไทยมีค่า RCA > 1 ในตลาดโลก สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีนมีค่า RCA > 1 ในตลาดเยอรมนีมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ส่วนญี่ปุ่นมีค่า RCA > 1 ในทุกตลาดยกเว้นตลาดมาเลเซีย และอินโดนีเซีย การแข่งขันชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ส่งออก ไทยมีค่า RCA > 1 ในตลาดโลก อิตาลี มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีนมีค่า RCA > 1 ในตลาดอิตาลี และอินโดนีเซีย ส่วนญี่ปุ่นมีค่า RCA > 1 ในตลาดคู่ค้าสำคัญทุกตลาดยกเว้นตลาดโลก (3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการส่งออกของรถจักรยานยนต์ของไทยเป็นผลมาจากความสามารถในการแข่งขันเป็นลำดับแรก รองลงมาคือ การขยายตัวของการค้าโลก การกระจายตลาด และส่วนประกอบของสินค้าตามลำดับ (4) ศักยภาพการแข่งขันของรถจักรยานยนต์ของไทยภายในประเทศพบว่าผู้ประกอบการรายใหม่ ผู้ขายปัจจัยการผลิต ผู้ซื้อ ผลิตภัณฑ์ทดแทนและการแข่งขันที่รุนแรง ต่างส่งผลให้การจำหน่ายรถจักรยานยนต์ได้มากยิ่งขึ้น ส่วนการแข่งขันรถจักรยานยนต์ของไทยในต่างประเทศพบว่าปัจจัยการผลิตอุปสงค์ต่อธุรกิจ อุตสาหกรรมสนับสนุน กลยุทธ์ทางธุรกิจ นโยบายรัฐบาล และเหตุสุดวิสัย ต่างส่งผลดีต่อศักยภาพการแข่งขันการส่งออกรถจักรยานยนต์ของไทยไปยังต่างประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectความสามารถในการแข่งขันth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์--ไทยth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์--จีนth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์--ญีปุ่นth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทย-สาธารณรัฐประชาชนจีน-ญี่ปุ่นth_TH
dc.title.alternativeAn analysis the competitiveness capability of the motoreycle industry in Thailand, a comparative study between Thailand -the Republic of China and Japanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112232.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons