Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศศิธร ทิพย์ชำนาญ, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-01T08:21:50Z-
dc.date.available2024-03-01T08:21:50Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11676-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษารูปแบบการออมและพฤติกรรมการออมของครัวเรือนในประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาลักษณะและแนวโน้มการออมของครัวเรือนไทยรวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างการออมของครัวเรือนและการออมสุทธิในประเทศไทย (3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออมของภาคครัวเรือนในประเทศไทยในระหว่างปีพ.ศ.2534 - พ.ศ.2548 ผลจากการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการออมของภาคครัวเรือนในช่วงดังกล่าวอัตราการออมของภาคครัวเรือนลดลงมาโดยตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ.2537 และลดลงอย่างมากหลังวิกฤติเศรษฐกิจปีพ.ศ.2540 (2)เนื่องจากรายจ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เริ่มมีการรณรงค์และส่งเสริมการออมมากขึ้นในปี พ.ศ.2546 ทำให้แนวโน้มการออมภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น แต่เนื่องจากเป็นช่วงที่มีการเคลื่อนย้ายเงินทุนสูงขึ้น ทำให้อัตราการขยายตัวการออมเริ่มลดลงเนื่องจากมีการดึงเงินไปใช้ในภาคธุรกิจอื่นและประชาชนเริ่มมีการใช้จ่ายมากขึ้น (3) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออมของครัวเรือนในประเทศไทย พบว่า รายได้ที่ใช้จ่ายจริงต่อหัว และสินทรัพย์สุทธิมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับปริมาณการออมร้อยละ 98.9 และร้อยละ 93.6 ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีรายได้สมบูรณ์ของเคนส์ รวมทั้งวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการออม่ของภาคครัวเรือนร้อยละ 92.6 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ณระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อและอัตราพึ่งพิงมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับปริมาณการออมของภาคครัวเรือนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการประหยัดและการออม--ไทยth_TH
dc.subjectครัวเรือน--ไทย--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยกำหนดการออมของครัวเรือนในประเทศไทย พ.ศ.2534 - 2548th_TH
dc.title.alternativeFactors determining household saving in Thailand B.E. 2534 - 2548en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114887.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons