Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11678
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมบัติ พันธวิศิษฎ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเทอดศักดิ์ รัญจวน, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-01T08:39:54Z-
dc.date.available2024-03-01T08:39:54Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11678-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตข้าวอินทรีย์และการผลิตข้าวทั่วไปในพื้นที่ที่ทำการศึกษา (2) วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิตด้านเทคนิคและด้านเศรษฐกิจของการผลิตข้าวทั้ง 2 แบบ (3) วิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวทั้ง 2 แบบ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการผลิตได้แก่ แรงงาน ทุนค่าปุ๋ยอินทรีย์และสารสกัดชีวภาพ และทุนค่าเมล็ดพันธุ์ข้าว สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตข้าวอินทรีย์ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แห่งการกำหนด เท่ากับ 0.927 ในขณะที่ปัจจัยแรงงาน ทุนค่าปุ๋ยเคมี และสารกำจัดศัตรูพืช และทุนค่าเมล็ดพันธุ์ข้าว สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตข้าวทั่วไปได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แห่งการกำหนด เท่ากับ 0.895 เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิตด้านเทคนิคปรากฏว่า การผลิตข้าวอินทรีย์มีประสิทธิภาพการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวสูงกว่าการผลิตข้าวทั่วไป แต่มีประสิทธิภาพการใช้แรงงานต่ำกว่า โดยการผลิตข้าวทั้ง 2 แบบ มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยและสารกำจัดศัตรูพืชใกล้เคียงกันสำหรับการวัดประสิทธิภาพด้านเศรษฐกิจปรากฏว่า เกษตรกรที่ผลิตข้าวทั้ง 2 แบบ ควรลดการใช้ปัจจัยการผลิตทั้ง 3 ชนิดลง เพื่อให้ได้รับประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจสูงสุด โดยการผลิตข้าวทั้ง 2 แบบ อยู่ในระยะผลตอบแทนต่อขนาดลดลง สำหรับการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า เกษตรกรที่ผลิตข้าวอินทรีย์มีต้นทุนเฉลี่ยต่อไร่ เท่ากับ 4,609.18 บาท สูงกว่าการผลิตข้าวทั่วไปที่มีต้นทุนเฉลี่ยต่อไร่ เท่ากับ 3,939.55 บาทโดยการผลิตข้าวอินทรีย์และข้าวทั่วไป ยังขาดทุนไร่ละ 920.04 บาท และ 531.71 บาท ตามลำดับ แต่ยังคงมีรายได้สุทธิเหนือต้นทุนที่เป็นเงินสดไร่ละ 509.54 บาท และ 935.84 บาท ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าวอินทรีย์--การผลิตth_TH
dc.subjectข้าว--การผลิตth_TH
dc.subjectข้าว--แง่เศรษฐกิจ--ไทย--ปัตตานีth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ปัตตานีth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ผลิตข้าวอินทรีย์และข้าวทั่วไปของเกษตรกรอำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีการเพาะปลูก 2550/2551th_TH
dc.title.alternativeAn economic analysis of organic rice and general rice production of farmers in Maelan District, Pattani Province, crop year 2007/2008en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114889.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons