Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11696
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาสินี ตันติศรีสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกานต์ภูมิเดช นิจเนตร, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-08T07:17:51Z-
dc.date.available2024-03-08T07:17:51Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11696-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)ความสัมพันธ์ระหว่างการออมของสหกรณ์การเกษตรกับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการออมของสหกรณ์การเกษตร 3) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการให้สินเชื่อของสหกรณ์การเกษตรทั้ง 4 สาขาเศรษฐกิจที่สำคัญ คือสาขาการเกษตรฯสาขาการค้าส่งและค้าปลีกฯ สาขาอสังหาริมทรัพย์ฯ และสาขาสถาบันการเงิน ผลการศึกษาพบว่า 1) ปริมาณการออมของสหกรณ์การเกษตรมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ กล่าวคือ เมื่อปริมาณการออมของสหกรณ์การเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.207 2) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการออมของสหกรณ์การเกษตรมากที่สุด คือ ปริมาณการถือหุ้นของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร รองลงมาคืออัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากปริมาณเงินรับฝากจากสมาชิกสหกรณ์การเกษตร และปริมาณเงินกู้จากแหล่งเงินทุนภายนอก ตามลำดับ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับปริมาณการออมของสหกรณ์การเกษตร กล่าวคือ เมื่ออัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากปริมาณเงินรับฝาก ปริมาณการถือหุ้นของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร และปริมาณเงินกู้จากแหล่งเงินทุนภายนอกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะทำให้ปริมาณเงินออมของสหกรณ์การเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.755 , 0.458 , 0.893 และ 0.126 ตามลำดับ 3) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการให้สินเชื่อของสหกรณ์การเกษตรทั้ง 4 สาขาเศรษฐกิจมากที่สุด คือ ปริมาณการถือหุ้นของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร รองลงมาคืออัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้กับสมาชิก ปริมาณเงินรับฝากจากสมาชิกสหกรณ์การเกษตร ปริมาณเงินกู้จากแหล่งเงินทุนภายนอก และจำนวนสมาชิกสหกรณ์การเกษตรตามลำดับ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับปริมาณการให้สินเชื่อ กล่าวคือ เมื่อจำนวนสมาชิกสหกรณ์การเกษตร ปริมาณเงินฝากจากสมาชิก ปริมาณการถือหุ้นจากสมาชิกสหกรณ์การเกษตร และปริมาณเงินกู้จากแหล่งเงินทุนภายนอกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะทำให้ปริมาณการให้สินเชื่อของสหกรณ์การเกษตรใน 4 สาขาเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.66 , 0.89 , 2.996 และ 0.75 ตามลำดับ ยกเว้นอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับปริมาณการให้สินเชื่อ กล่าวคือ เมื่ออัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้กับสมาชิกสหกรณ์การเกษตรลดลงร้อยละ 1 จะทำให้ปริมาณการให้สินเชื่อสหกรณ์การเกษตรใน 4 สาขาเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.875 4) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการให้สินเชื่อในสาขาการเกษตร สาขาค้าส่งและค้าปลีก สาขาอสังหาริมทรัพย์และสาขาสถาบันการเงินพบว่าปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุดทั้ง 4 สาขา คือปริมาณการถือหุ้นจากสมาชิกสหกรณ์ รองลงมาคืออัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้กับสมาชิกสหกรณ์การเกษตร ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--การออมth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--สินเชื่อth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการออมของสหกรณ์การเกษตรกับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการให้สินเชื่อของสหกรณ์การเกษตรth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between the saving of cooperative agriculture and gross domestic product and factors affecting quantity credit of cooperative agricultureen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to study: 1) the relationships between the saving of agricultural cooperatives and gross domestic product; 2) factors affecting saving quantity of agricultural cooperatives; and factors affecting the credit quantity of agricultural cooperatives towards four economic sectors (i.e. agriculture, wholesale and retail, real estate, and financial institutions) The research used quantitative technique to analyse the secondary data collected from the agricultural cooperatives and Fiscal Policy Office during 1997-2009. In the analysis, the data were examined through multiple regression equation via ordinary least square method. The findings were: 1) The saving of agricultural cooperatives had a positive relationship with gross domestic product. If the saving increases 1 %, there is an increase of 0.207 % of GDP. 2) Factors affecting the saving of agricultural cooperatives, with the same direction, comprised share holding of the members, deposit interest rate, deposit quantity of the members, and loan quantity from outside financial sources, respectively. If these factors increase 1 percent, when other things being equal, they bring about an increase in the saving 0.755, 0.458, 0.893 and 0.126 percent, respectively. 3) Factors affecting the cooperative credits towards the four sectors, with the same direction, were the quantity of share holding of the members, deposit quantity of the members, loan quantity from outside financial sources, and number of the members, respectively. If these factors increase 1 percent, when other things being equal, they bring about an increase in the credits 0.660, 0.890, 2.996 and 0.75 percent, respectively. However, the interest rate showed a negative sign with the credit. If it decreases 1 percent, the credits increase 1.875 percent. 4) Factors affecting the credits towards the four economic sectors were, according to the hypothesis, the share holding quantity of the members and loan interest, respectively, at statistic significant level .05en_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122091.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons