Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11724
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพดล อุดมวิศวกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ปิยะวดี ปิยะเสถียร, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-11T08:14:35Z | - |
dc.date.available | 2024-03-11T08:14:35Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11724 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในเขตเทศบาลตำบลห้วยกะปิ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี (2) วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสําเร็จของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในเขตเทศบาลตำบลห้วยกะปิ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในเขตเทศบาลตำบลห้วยกะปิ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี การศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณประชากร คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลห้วยกะปิ อายุตั้งแต่ 20- 60 ปี มีจำนวน 9,523 คน โดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 383 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าเอฟ การวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ผู้นำชุมชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องจํานวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดยังไม่เพียงพอและทั่วถึง ประชากรแฝงไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ได้แก่ ปัจจัยด้านการมีอำนาจในการตัดสินใจของประชาชน ด้านความร่วมมือในกระบวนการของการตัดสินใจร่วมกัน ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน ด้านการมีส่วนร่วมในการรับฟังความคิดเห็นและด้านการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสาร (3) แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด คือ การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นและมีอำนาจในการตัดสินใจอย่างแท้จริง โดยมีเทศบาลเป็นหน่วยงานสำคัญในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การควบคุมยาเสพติด--ไทย--ชลบุรี--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในเขตเทศบาลตำบลห้วยกะปิ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | People participation development in narcotic solving problem in Huaykapi Municipality, Muang District, Chonburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to study the current problems of people participation development in narcotic solving problem in Huaykapi Municipality, Muang District, Chonburi Province (2) to analyze key success factors of people participation development in narcotic solving problem in Huaykapi Municipality, Muang District, Chonburi Province (3)to recommend guidelines for people participation development in narcotic solving problem in Huaykapi Municipality, Muang District, Chonburi Province. This study used both quantitative and qualitative research methodolody. The population for quantitative method was 9,523 people living in Huaykapi Municipality area, age between 20-60 years. Sample size was calculated according to Taro Yamane formula and contained 383 samples with accidental sampling method. The instrument for quantitative research was a questionnaire. Statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and F-test. For qualitative research, the informants were 7 community leaders. The instruments was a structured interview form. The data analysis employed content analysis. The results of the study revealed that (1)The opportunity for people to participate in the narcotic solving problem was not enough and through, non-registered population does not cooperate as they should (2) The factors affecting the people participation development in narcotic solving problem were the people's decision-making power, cooperation in the process of joint decision-making, participation in community activities, participation in listening the opinion, and participation in giving information (3) The recommendation guidelines for the people participation development for in narcotic solving problem were there should give the opportunity to express opinions and truly had a power to make decisions by people and the municipality should be an important organ to strengthen people participation in in narcotic solving problem. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 30.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License