Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวรรณี ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมุกดารัตน์ โคตรพรม, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-03-14T06:51:12Z-
dc.date.available2024-03-14T06:51:12Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11734-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมีนบุรี สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมีนบุรี สังกัดสํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร จํานวน 1 ห้องเรียน จํานวนนักเรียน 32 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลาง และ (2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมีนบุรี สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using central region folklores on interpretive reading ability of grade 2 students at Min Buri School under the Department of Education, Bangkok Metropolitan Administrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to compare Thai language interpretive reading abilities of grade 2 students at Min Buri School under the Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration before and after learning with the use of Central Region folklores. The research sample consisted of 32 grade 2 students in an intact classroom of Min Buri School under the Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans with the use of Central Region folklores, and (2) an achievement test on Thai language interpretive reading ability. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that the post-learning Thai language interpretive reading ability of the grade 2 students after learning with the use of Central Region folklores was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons