Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11734
Title: | ผลการใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมีนบุรี สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร |
Other Titles: | Effects of using central region folklores on interpretive reading ability of grade 2 students at Min Buri School under the Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration |
Authors: | สุวรรณี ยหะกร มุกดารัตน์ โคตรพรม, 2535- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี การอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--กรุงเทพฯ การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมีนบุรี สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมีนบุรี สังกัดสํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร จํานวน 1 ห้องเรียน จํานวนนักเรียน 32 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลาง และ (2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11734 |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License