Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ กีระพงษ์th_TH
dc.contributor.authorอรพรรณ จันทรา, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-14T07:02:02Z-
dc.date.available2024-03-14T07:02:02Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11735-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงโครงสร้างและการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทางทันตกรรม และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ตำแหน่งงานประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง กับการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทางทันตกรรมของทันตบุคลากรในโรงพยาบาลรัฐ สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า (1) ทันตบุคลากรในโรงพยาบาลรัฐ สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง และมีการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทางทันตกรรมในระดับสูง และ (2) เมื่อควบคุมอิทธิพลของตัวแปรในโมเดลแล้วพบว่า เพศ ประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทางทันตกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติของทันตบุคลากรตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทางทันตกรรมสูงที่สุดตามลำดับคือ การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง เพศชาย และประสบการณ์ทำงาน (B = 0.381, -0.173 และ 0.144) การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงโครงสร้างและประสบการณ์ทำงานมีอิทธิพลเชิงบวก แต่ลักษณะเพศชายมีอิทธิพลเชิงลบต่อการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทางทันตกรรม การศึกษานี้ไม่พบว่าการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทางทันตกรรมมีความสัมพันธ์กับตำแหน่งงาน ได้แก่ การเป็นทันตแพทย์ ทันดาภิบาล และผู้ช่วยทันตแพทย์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบุคลากรทันตสาธารณสุขth_TH
dc.subjectทันตกรรมป้องกันth_TH
dc.titleการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงโครงสร้างและการปฏิบัติของทันตบุคลากร ตามแนวทางการควบคุมการติดเชื้อทันตกรรม ในโรงพยาบาลรัฐ สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeStructural empowerment and dental infection control guideline implementation among dental personnel at government hospitals under Chiang Mai Provincial Public Health Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis survey research aimed to study: (1) the receipt of structural empowerment and the implementation of dental infection control guidelines; and (2) the relationships between gender, job position, work experience as well as structural empowerment, and the implementation of dental infection control guidelines, all among dental personnel at government hospitals under the Chiang Mai Provincial Public Health Office (PPHO). The study was undertaken in 184 dental personnel selected using the stratified random sampling according to job position out of all 348 dental staff in Chiang Mai PPHO’s state hospitals. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis. The results showed that, among dental respondents in Chiang Mai PPHO’s state hospitals under this study: (1) their receipt of structural empowerment and compliance with the dental infection control guidelines were at a high level; and (2) when model variables had been controlled, gender, work experience and structural empowerment were significantly associated with their performance in implementing the dental infection control guidelines (p-value <0.05). The highest influencing factor was structural empowerment, followed by being male and work experience (β = 0.381, -0.173 and 0.144); the structural empowerment and work experience exerted a positive influence while being male had a negative influence on the dental infection control. There was no association between the practice of dental infection control guidelines and job position – as dentist, dental hygienist or dental assistanten_US
dc.contributor.coadvisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons