Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1173
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทัศนา หาญพล | th_TH |
dc.contributor.author | กุทัย หาระพันธ์, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T07:50:24Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T07:50:24Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1173 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้สารสนเทศของพระนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงฆ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (2) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศของพระนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงฆ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (3) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศของพระนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงฆ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล (4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้สารสนเทศของพระนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงฆ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างเป็นพระนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยสงฆ์ จำนวน 264 รูปจำแนกเป็นมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยจำนวน 64 รูป และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน 200 รูป สุ่มแบบแบ่งชั้นตามมหาวิทยาลัยและตามชั้นปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) พระนักศึกษามีการใช้สารสนเทศโดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านทรัพยากรสารสนเทศและด้านแหล่งสารสนเทศอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศน้อยที่สุดคือชุดการสอน และ แหล่งสารสนเทศที่ใช้น้อยที่สุดคือห้องสมุดเทศบาล (2) พระนักศึกษามีปัญหาการใช้สารสนเทศโดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านทรัพยากรสารสนเทศและด้านแหล่งสารสนเทศอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีปัญหาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศในระดับมากด้านวารสารวิชาการเฉพาะสาขาวิชามีจำนวนน้อยไม่ตรงกับความต้องการ สื่อโสตทัศน์ไม่ทันสมัย แหล่งสารสนเทศมีจำนวนที่นั่งอ่านไม่เพียงพอกับความต้องการ และไม่สะดวกในการเดินทางไปใช้บริการ แหล่งสารสนเทศภายนอก (3) พระนักศึกษาที่มีอายุ อายุพรรษา มหาวิทยาลัยที่สังกัด คณะวิชา และมีวิธีการเข้าถึงสารสนเทศต่างกัน มีการใช้สารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ส่วนพระนักศึกษาที่มีชั้นปีและความถี่ในการเข้าใช้ห้องสมุดต่างกัน มีการใช้สารสนเทศแตกต่างกัน (4) พระนักศึกษาที่มีอายุ อายุพรรษา และมีวิธีการเข้าถึงสารสนเทศต่างกัน มีปัญหาการใช้สารสนเทศไม่แตกต่างกัน ส่วนพระนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยที่สังกัดคณะวิชา ชั้นปีและมีความถี่ในการเข้าใช้ห้องสมุดต่างกัน มีปัญหาการใช้สารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.8 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสงฆ์--นักศึกษา | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.title | การใช้สารสนเทศของพระนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงฆ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน | th_TH |
dc.title.alternative | Information use by Buddhist monks at Undergraduate level in Buddhist Universities in upper North-east | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.8 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to (1) study the use of information by Buddhist monks, (2) study problems of information use by Buddhist monks, (3) compare the use of information by Buddhist monks in the upper north-east classified by personal factors, (4) compare problems of information use by Buddhist monks at undergraduate level in Buddhist universities in the upper north-east classified by personal factors. The sample selected by stratified sampling by universities and year of study, consisted of 264 Buddhist monks, who studies at the undergraduate level in two Buddhist universities in the upper north-east which comprised of 64 Buddhist monks from Mahamakut Buddhist University and 200 Buddhist monks from Mahachulalongkornrajavidyalaya University. The research tool was a questionnaire and statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, and one-way ANOVA. The results were as follows: (1) overall use and each particular aspect of information use of information resources and of information sources by Buddhist monks were at a moderate level. Information resources that used least were teaching kits and information sources that used least was in public library (2) Buddhist monks had problems, overall and in each aspect, in using information resources and information sources at a moderate level. The problems of using information resources and information sources by Buddhist monks at the high level were the small number of academic journals in specific area did not meet the users need, and the out of date audio-visual materials, the information sources that had insufficient seats which did not meet the users need and inconvenient to use information sources out of the campus. (3) Buddhist monks with different age, monkhood year, universities, department, and having the ways to access information differently had no difference in information use. The Buddhist monks however with different year of study, and different frequency of library use used information differently. (4) Buddhist monks classified by age, monkhood year, and the ways to access information had no problems in information use. But Buddhist monks in different universities, year of study, department, and different frequency of library use had different problems in information use with significantly different at .05 level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุจิตรา หังสพฤกษ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ไพโรจน์ บัวสุข | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (7).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License