Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11766
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรฆย์คณา แย้มนวล | th_TH |
dc.contributor.author | อภิญญา หวังยีเส็น, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-21T07:33:14Z | - |
dc.date.available | 2024-03-21T07:33:14Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11766 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตกาแฟโรบัสต้า 2) ประสิทธิภาพทางเทคนิคในการผลิตกาแฟโรบัสต้า และ 3) ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจในการผลิตกาแฟ โรบัสต้า ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรที่เป็นสมาชิกกลุ่มกาแฟ มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 5,805.69 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 4,477.53 บาท/ไร่ ส่วนเกษตรกรที่ไม่เป็นสมาชิกกลุ่มกาแฟมีต้นทุนจากการผลิตเฉลี่ย 5,394.61 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 4,984.08 บาท/ไร่ 2) ประสิทธิภาพทางเทคนิคในการผลิตที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดกรณีเกษตรกรที่เป็นสมาชิกกลุ่มกาแฟคือ วันงานในการเก็บเกี่ยว รองลงมาคือปริมาณปุ๋ยเคมี โดยมีค่าผลิตภาพหน่วยสุดท้าย เท่ากับ 25.733 และ 0.399 ตามลำดับ ส่วนกรณีเกษตรกรที่ไม่เป็นสมาชิกกลุ่มกาแฟ วันงานในการเก็บเกี่ยวมีประสิทธิภาพทางเทคนิคมากที่สุด รองลงมา ปริมาณปุ๋ยเคมีโดยมีค่าผลิตภาพหน่วยสุดท้าย เท่ากับ 27.869 และ 0.677 ตามลำดับ 3) ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจในการผลิตกรณีเกษตรกรที่เป็นสมาชิกกลุ่มกาแฟ วันงานในการเก็บเกี่ยวและปริมาณปุ๋ยเคมี มีค่าสัดส่วนของมูลค่าผลผลิตหน่วยสุดท้ายต่อราคาปัจจัยการผลิตเท่ากับ 3.515 และ 1.408 ตามลำดับ จึงควรเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตดังกล่าว และมีค่าสัดส่วนของมูลค่าผลผลิตหน่วยสุดท้ายต่อราคาปัจจัยการผลิตของสารเคมีป้องกันและกำจัดวัชพืช และวันงานในการดูแลรักษา เท่ากับ -85.053 และ -6.081 ตามลำดับ จึงควรลดปัจจัยการผลิต ดังกล่าว ส่วนกรณีเกษตรกรที่ไม่เป็นสมาชิกกลุ่มกาแฟ วันงานในการเก็บเกี่ยวและปริมาณปุ๋ยเคมี มีค่าสัดส่วนของมูลค่าผลผลิตหน่วนสุดท้ายต่อราคาปัจจัยการผลิต เท่ากับ 3.531 และ 2.294 ตามลำดับ จึงควรเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตดังกล่าว และมีค่าสัดส่วนของมูลค่าผลผลิตหน่วยสุดท้ายต่อราคาปัจจัยการผลิตของสารเคมีป้องกันและกำจัดวัชพืช และวันงานในการดูแลรักษา เท่ากับ -30.076 และ -3.966 ตามลำดับ จึงควรลดการใช้ปัจจัยการผลิตดังกล่าว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.65 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | กาแฟ--การผลิต | th_TH |
dc.subject | กาแฟ--ต้นทุนการผลิต | th_TH |
dc.title | ต้นทุน ผลตอบแทนและประสิทธิภาพการผลิตกาแฟโรบัสต้าในจังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Cost, return and production efficiency of robusta coffee in Chumphon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.65 | - |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to : 1) investigate cost and return of Robusta coffee production; 2) measure technical efficiency of Robusta coffee production; and 3) measure economic efficiency of Robusta coffee production in Chumphon Province. A survey by in in-depth interview with heads of coffee farm was conducted in the 2012/2013 crop year, using questionnaire . The coffee farmer samples were selected by using simple random sampling. Hence, 96 farmers who are members of the coffee group and 99 who are not members of the coffee group were interviewed . This study applied a stochastic frontier production function approach to measure the purposes. The results found that 1) cost of coffee production by farmers who are member of the coffee group is 5,805.69 Baht/rai and net income is 4,477.53 Baht/rai. Whereas that of farmers who are not member of the group is 5,394. 61 Baht/rai and net income is 4,984.08 Bath/rai. 2) The most technical efficiency of Robusta coffee production is harvesting days and followed by the quantity of fertilizer used for farmers who are and are not members of the coffee group group. The marginal physical products of harvesting days and quantity of fertilizer used for farmers who are membermembers of the coffee group are 25.733, 0.399 respectively whereas those for farmers who are not members of the coffee group are 27.869 and 0.677 respectively. 3) For the economic efficiencies of Robusta coffee production of the harvesting days and the quantity of fertilizer used in the case of farmers who are members of the coffee group are 3.515 and 1.408 respectively. Therefore, these two factors should be increase increased. The ratio of value of marginal product per input price of maintenance days and quantity of pesticide used are -85.053 and -6.081 respectively. Therefore, these factors should be decreased. For farmers who are not members of the coffee group the ratio of value of marginal product per input price of harvesting days and quantity of fertilizer used are 3.531 and 2.294 respectively therefore these two factors should be increased increased. The ratio of value of marginal product per input price of quantity of pesticide us ed and maintenance days are -30.076 and -3.966 respectively. Therefore, these two factors should be decreased. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รัฐวิชญญ์ จิวสวัสดิ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
145416.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License