Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11780
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภูริพัฒน์ ชาญกิจ | th_TH |
dc.contributor.advisor | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.contributor.author | อธิชา ชนะสิทธิ์, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-28T07:44:58Z | - |
dc.date.available | 2024-03-28T07:44:58Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11780 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อคุณภาพการให้บริการสายการบินต้นทุนต่ำของสายการบินไทยไลอ้อนแอร์ เส้นทางหาดใหญ่ - ดอนเมือง และ (2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการที่มีผลต่อความพึงพอใจโดยภาพรวมในการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำของสายการบินไทยไลอ้อนแอร์ เส้นทางหาดใหญ่ -ดอนเมืองผลการศึกษาพบว่า (1) ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อคุณภาพการให้บริการสายการบินต้นทุนต่ำของสายการบินไทยไลอ้อนแอร์ เส้นทางหาดใหญ่ - ดอนเมือง อยู่ในระดับมากทั้งโดยภาพรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านความถูกต้องและความรวดเร็วในการให้บริการ ด้านรูปลักษณ์องค์กรและผู้ให้บริการ ด้านการดูแลเอาใจใส่ และด้านการตอบสนองของผู้ใช้บริการ และ (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ และอายุต่างกัน มีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการสายการบินต้นทุนต่ำของสายการบินไทยไลอ้อนแอร์ เส้นทางหาดใหญ่ - ดอนเมือง ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ มีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ ของสายการบินไทยไลอ้อนแอร์ เส้นทางหาดใหญ่ - ดอนเมือง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สายการบินไทยไลอ้อนแอร์--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการให้บริการโดยสารทางอากาศยานภายในประเทศด้วยสายการบินต้นทุนต่ำของสายการบินไทยไลอ้อนแอร์เส้นทางหาดใหญ่ - ดอนเมือง | th_TH |
dc.title.alternative | Passenger's satisfaction toward service quality on Low Cost Domestic Airline for Thai Lion Air Hat Yai - Don Mueang Route | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were: (1) to study the passenger’s satisfaction toward service Quality on Low Cost Domestic Airline for Thai Lion Air Hat Yai – Don Mueang route; and (2) to compare the factors related the demography of the passenger’s satisfaction and toward service Quality on Low Cost Domestic Airline for Thai Lion Air Hat Yai – Don Mueang route. For the survey, the research sample population was passengers on Low Cost Domestic Airline for Thai Lion Air Hatyai – Don Mueang route at Hat Yai International airport, Songkhla total 97,418 were recruited from January to February. The data was collected using questionnaires. The samples of this study were 200 customers and calculated by the formula of Taro Yamane. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA, and pairwise comparison with a statistical significant difference. The result of the study revealed that: (1) the passenger’s satisfaction toward service quality on low cost domestic airline for Thai Lion Air Hat Yai – Don Mueang route was high. The subjects noted; 1) the credibility and speed of service; 2) the corporate image and staff 3) quality of empathy and care; and 4) the responsiveness service. (2) There was no statistical significance within the groups of gender and age regarding the service quality satisfaction. However, a statistical significance was found within the groups of different marital status, educational level, occupation and income at a significant level at 0.05. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
155912.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License