Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้าth_TH
dc.contributor.authorสุริยา กัญญะคำ, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-03-29T04:16:06Z-
dc.date.available2024-03-29T04:16:06Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11795en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี หรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยชั่วคราวในคดีอาญา และศึกษาสภาพปัญหา ทางกฎหมายสภาพปัญหาทางข้อเท็จจริง กรณีที่ศาลมีคำสั่งเกี่ยวกับการขออนุญาตปล่อยตัวชั่วคราวในคดีอาญาเพื่อให้ทราบถึงอุปสรรคการบังคับให้เป็นไปตามคำสั่งศาล หาแนวทาง การแก้ไขปัญหาภายหลังศาลมีคำสั่งเกี่ยวกับการขออนุญาตปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยชั่วคราว ในคดีอาญา เพื่อการบังคับใช้กฎหมายที่มีประสิทธิภาพต่อไป ผลการศึกษาพบว่า การที่ศาลมีคำสั่งในกรณีมีการยื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา กรณีอนุญาตให้มีการประกันตัวระหว่างคดียังไม่ถึงที่สุด แม้เป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาทางอาญาให้เป็นไปตามหลักสิทธิและเสรีภาพทางร่างกาย การเคลื่อนไหว และสิทธิในการต่อสู้คดีได้อย่างเต็มที่ ขณะเดียวกันก็ต้องคำนึงถึงเมื่อผู้ต้องหาหรือจำเลยได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวแล้วหลบหนีไม่มาศาลตามกำหนดนัด อันกระทบต่อความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม ทางอาญาของไทย โดยทั้งนี้ศาลต้องคำนึงถึงพฤติการณ์ การยุ่งเหยิงพยานหลักฐานในคดี บุคลิกลักษณะอุปนิสัย ของผู้ต้องหาหรือจำเลย และองค์ประกอบอื่นๆ ประกอบการพิจารณา มีคำสั่งด้วย ทั้งนี้เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมและการบังคับใช้กฎหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการปล่อยชั่วคราวth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยชั่วคราวในคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeProvisional release of the accused or the defendant in criminal casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the independent research is to study concepts, theories or rules pertaining to provisionally releasing an accused or a defendant as well as studying the current state of legal problems, factual problems and cases where courts issue orders relating to provisional releases. This result in understanding of obstructions of court rulings enforcement. Moreover, this research will propose recommendation for ensuring effective implementation. This independent research is a qualitative research with the method of documentary research. It makes use of both documents in Thai language and foreign language, law provisions, academic works, research papers, thesis, law journals and magazines, newspapers, seminar documents, general public opinions, court precedents and rulings as well as internet-based information. The research findings reveal that in case of courts grant provisional release orders while criminal cases are not final, even though the court must proceed cases in accordance with the principles of rights protection on freedom of movement and principal of fair trial, the court must consider the possibility of the accused or the defendant may escape from court to appear before appearances. This would deteriorate the confidence of Thai criminal justice system. Therefore, the court must use discretion in all circumstances, tampering of evidence, personal behaviors of the accused or the defendant and other elements. This result in maintain the interest of justice and optimize law enforcement. Therefore, the court has to use discretion in all circumstances, tampering of evidence, personal behaviors of the accused or the defendant and other elements.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156171.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons