Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11796
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorธัญญชล ศิรเวธน์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-03-29T06:34:37Z-
dc.date.available2024-03-29T06:34:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11796en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาถึงความหมาย ความเป็นมาแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน ศึกษาถึงบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน วิเคราะห์กฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศในการใช้เอกสารสิทธิเกี่ยวกับที่ดินและปัญหาในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินของไทยศึกษา เสนอแนวทางและวิธีการที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดย การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลจากบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเก็บข้อมูลจาก หนังสือ คําพิพากษา ตําราทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ เอกสาร และบทความที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน สืบค้นข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผลการศึกษาพบว่าประเทศไทยยังคงมีการออกเอกสารสิทธิ์ ทำให้มีการนำไปใช้กู้ยืมเงินกันโดยผู้ให้กู้ยึดถือโฉนดที่ดินแทนการจดทะเบียนจำนอง ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการจดทะเบียนแล้วจึงควรยกเลิกการออกเอกสารสิทธิ และผู้ที่จะทำนิติกรรมต้องมาตรวจสอบสิทธิของเจ้าของที่ดินที่สำนักงานที่ดินก่อนทำนิติกรรม บางกรณีการครอบครองที่ดินในปัจจุบันไม่ตรงตามเอกสารสิทธิ ซึ่งเอกสารสิทธิแต่ละประเภทควรมีการจัดทำระวางแผนที่เดียวกัน และในการโอนมรดกทุกกรณีควรมีการประกาศเพื่อให้ผู้ที่ครอบครองที่ดินได้ทราบและประเทศไทยควรมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับโนตารีปับลิก เพื่อให้การรับรองเอกสารและใช้เอกสารนั้นเป็นพยานในศาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกฎหมายที่ดินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายสำหรับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินth_TH
dc.title.alternativeLaw improvement for land registration according to land codeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study are: 1) to examine definitions, background and theoretical concepts of the land registration according to the Land Code; 2) to understand legislation related to the land registration according to the Land Code; 3) to analyze the contents of Thai and international laws relating to documents of title and problems relating to the land registration according to the Land Code; and 4) to propose a solution to these problems regarding the land registration according to the Land Code. The qualitative study focused on documentary legal research. It was conducted by analyzing documents including textbooks, theses, journal articles, court judgments, and electronic documents on the Internet relating to the topic. The study found that Thailand still issued document of title which has been used to procure a loan by letting the creditor held the document physically without mortgage registration. At the moment, land registration is digitalized, so issuing document of title should be cancelled. Moreover, a person who wishes to enter into a contract regarding a piece of land should inspect the right of its owner because sometimes the actual possession of the land is different from what presented on the deed. Thus, the one map system shall be used, and the transfer of estate property should be posted for a period of time. In addition, Thailand should legislate the law concerning notary public certifying documents in order that the documents can be used as evidence in the court.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
futtext.pdfเอกสารฉบับเต็ม47.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons