Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริรัตน์ สุวณิชย์เจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ สารสิทธิ์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-03-29T07:43:35Z-
dc.date.available2024-03-29T07:43:35Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11805-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับ การตรวจความปลอดภัยในโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ และ 2) เพื่อศึกษาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลและรายงานผลการตรวจความปลอดภัย การพัฒนาต้นแบบชื้นงานได้นำโปรแกรมไมโครซอฟท์แอคเซสมาใช้ในการตรวจ ความปลอดภัย โดยออกแบบตามคู่มือมาตรฐานการกำกับดูแลโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จของกรม โรงงานอุตสาหกรรม (2549) ซึ่งมีรายการตรวจสอบรวม 36 ข้อ แบ่งเป็นมาตรการมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม 14 ข้อ และมาตรการส่งเสริมความความปลอดภัย จำนวน 22 ข้อ จากนั้นได้นำโปรแกรมตรวจความ ปลอดภัยที่พัฒนาขึ้นไปให้หัวหน้าโรงงานแต่ละสาขาเป็นผู้ทดลองใช้ จำนวนทั้งหมด 29 โรงงาน และ รวบรวมข้อมูลที่ได้มาประมวลผลเพื่อสืบค้นปัญหาของโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ ผลการศึกษา สรุปได้ว่า 1) สามารถพัฒนาโปรแกรมต้นแบบชิ้นงานในการตรวจ ความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่ต้องการสำหรับผู้ใช้งานอย่างมากโดยผลการประเมิน ความพึงพอใจการใช้โปรแกรมต้นแบบชื้นงานมีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.36 คะแนน และ 2) เมื่อพิจารณา คะแนนจากผลการตรวจความปลอดภัย สามารถแยกกลุ่มโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จทั้ง 29 โรงงาน ได้ดังนี้ กลุ่ม A หมายถึง โรงงานที่ได้คะแนนตั้งแต่ 76 คะแนนขึ้นไป มี 9 โรงงาน ในกลุ่มนี้พบว่า มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมยังมีคะแนนน้อยกว่ามาตรการด้านความปลอดภัย กลุ่ม B หมายถึง โรงงาน ที่ได้คะแนนระหว่าง 50-75 คะแนนมี 19 โรงงาน ในกลุ่มนี้มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและมาตรการ ด้านความปลอดภัยมีคะแนนเฉลี่ยในเกณฑ์ใกล้เคียงกัน กลุ่ม C หมายถึง โรงงานที่ได้คะแนนระหว่าง 25-49 คะแนน มีจำนวน 1 โรงงาน จากผลการทดลองใช้โปรแกรมต้นแบบชื้นงานในการตรวจความ ปลอดภัยดังกล่าว พบว่า สามารถนำมาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับการ วางแผนพัฒนาที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับแต่ละกลุ่มโรงงานได้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมคอนกรีตผสมเสร็จ--มาตรการความปลอดภัยth_TH
dc.subjectไมโครซอฟต์แอ็กเซสth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมไมโครซอฟท์แอคเซสเพื่อการตรวจความปลอดภัย กรณีศึกษาโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จth_TH
dc.title.alternativeA development of Microsoft Access Program for safety inspection : a case study in ready mixed concrete plantsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this independent study were: 1) to develop a computer program for the safety inspection of ready mixed Concrete plants; and 2) to study the use of a computer program for conducting safety inspection evaluation and relevant reports A prototype for safety inspection was developed using Microsoft Access based on the Safety Inspection Standards for ready mixed concrete (2549) which contained 36 inspection items; 14 items was related to Environmental Measures; 22 items was related to Safety Measures. The prototype was provided to 29 batching plant chiefs for the inspection of 29 batching plant and the collected data were used for further analysis It can be concluded that: 1) a developed prototype could be used effectively for safety inspection and it met the user requirements based on the satisfaction rating of 4.36; and 2) based on the score of safety inspection, the 29 ready mixed concrete batching plants were classified into three groups. Group A, B, and C. Group A, with score higher than 76, contained 9 plants. In this group, the environmental measures had lower score than safety measures. Group B, with score between 50 – 75, contained 19 plants. The plants in this group had similar environmental scores and safety scores. Group C, with score between 25-49, there was only 1 plant. According to the results of prototype implementation, it can be concluded that developed program can be effectively used in practice. The safety inspection data can be analysed for effective planning which appropriate for ready mixed concrete batching plants development.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156603.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons