กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1180
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชำนาญ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทัศนีย์วรรณ์ ศรีประดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเอกรัตน์ นามวงค์, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T08:26:02Z-
dc.date.available2022-08-27T08:26:02Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1180-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ การพัฒนาระบบใช้วิธีการตามหลักการของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ เริ่มจาก การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบโดยสัมภาษณ์ผู้ใช้ ซึ่งเป็นบุคลากรของศูนย์พัฒนาฝี มือแรงงาน จังหวัดกาฬสินธุ์ ทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ และกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมแปร วา กลุ่มผู้แปรรูปผ้าไหมแพรวา และกลุ่มผู้จำหน่ายผ้าไหมแพรวา รวม 20 คน จากนั้นวิเคราะห์และ ออกแบบระบบใหม่ ซึ่งประกอบด้วยระบบย่อย 3 ระบบ คือ ระบบนำเข้า ระบบค้นหา และระบบ แสดงผล โดยครอบคลุมข้อมูลต่างๆ ได้แก่ การฝึกอบรม แหล่งผลิต แปรรูป และจำหน่ายผ้าไหม แพรวา การพัฒนาระบบดำเนินการภายใต้ระบบปฏิบัติการ คือ Microsoft Windows 7 Ultimate โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ คือ พีเอชพีโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล คือ MySQLโปรแกรมพัฒนา เว็บเพจ คือ โปรแกรมจูมลา (Joomla) ผลการวิจัยนี้ทำให้ได้ระบบสารสนเทศที่สามารถพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านผ้าไหม แพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ซึ่ ง ประกอบด้วย ผู้บริหารและบุคลากร และกลุ่มผู้ผลิต ผู้แปรรูป และกลุ่มผู้จำหน่ายผ้าไหมแพรวา จำนวน 25 คน พบว่า ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อระบบแสดงผล ค้นหา และภาพรวมของ ระบบอยูในระดับดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.293-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการth_TH
dc.subjectระบบสนับสนุนการตัดสินใจth_TH
dc.subjectผ้าไหม--ไทย--กาฬสินธุ์th_TH
dc.subjectผ้าไหมไทยth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการจัดการงานพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeThe development of the information system for management workforce competency of Praewa Silk in Kalasin Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.293-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research and development study was to develop an information system for the management workforce competency of Praewa silk in Kalasin Province. The system development life cycle methodology was used. A preliminary study was conducted through interviews with 20 users, who were staff of the center of skill development of Kalasin Province both at administrative and operational levels and the production group, processing group and distribution group. The analysis and design of the new system were carried out accordingly. The information system consisted of 3 subsystems: input subsystem, search subsystem and the output subsystem. The whole system included data about training, source of production, source of development and source of distribution. The software development tools employed were MySQL, PHP and Joomla. The system was developed under the environment of Microsoft Windows 7 Ultimate. The result showed that the newly-developed system efficiently supported the management workforce competency of Praewa silk in Kalasin Province. The evaluation of the information system by 25 users, revealed that most users were satisfied with the search and the output subsystem and the overall system at the high levelen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Arts-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext (10).pdfเอกสารฉบับเต็ม20.47 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons