กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1181
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลายth_TH
dc.contributor.authorอัจฉรี หังสสูต, 2497-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T08:33:31Z-
dc.date.available2022-08-27T08:33:31Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1181en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของ ผู้สูงอายุในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัวและปัจจัยดัานจิตลักษณะของผู้สูงอายุกับการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของผู้สุงอายุ ประชากรในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จำนวน 2,670 คน ซึ่งลงทะเบียนเป็นผู้รับบริการในศูนย์บริการสาธารณสุขของสำนักงานอนามัย กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 350 คน ได้มาจากการสุ่มแบบระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ จำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ การทดสอบไค-สแควร์ และการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การเข้าร่วมกิจกรรมของ ผู้สูงอายุในเขตดุสิต กรุงเทพมหานครอยู่ในระดับปานกลางโดยผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมด้านศาสนาและด้านเพื่อชุมชน มากกว่าด้านนันทนาการ และด้านการศึกษา (2) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประกอบด้วย เพศ การศึกษา อาชีพในปัจจุบัน รายได้ ทัศนคติต่อการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม การรับรู้ข่าวสาร เกี่ยวกับกิจกรรมทางสังคม ลักษณะของครอบครัวและความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว ปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย อายุ การสมรส บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วย ภาวะสุขภาพ จำนวนบุตร สถานภาพของผู้สูงอายุในครอบครัว และขนาดของครอบครัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.194en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางสังคมth_TH
dc.subjectกลุ่มสัมพันธ์th_TH
dc.titleการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาผู้สูงอายุเขตดุสิต กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeParticipation in social activities of the elderly : a case study of the elderly in Dusit Disyrict, Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.194-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the level of participation in social activities of the elderly in Dusit District, Bangkok and (2) to study the relationships among personal factors, family factors, psychological factors, and the participation in social activities of the elderly. The population of this study were 2,670 elderly people living in Dusit District, Bangkok and registered in two Dusit District Healthcare Centers of the Bangkok Metropolitan Health Department. A sample group of 350 elderly people were selected by systematic sampling technique. The instrument used for data collection was a set of questionnaire. Statistics employed for data analysis were percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, post-hoc analysis, chi-square test and Pearson’s product moment correlation. The results of this study were (1) overall participation in social activities of the elderly was at the medium level, and the levels of participation in religious activities and communities activities were found to be higher than the participation in recreational and educational activities and (2) factors related to the participation in social activities of the elderly at the 0.05 level of statistical significance were: sex, education, present occupation, income, attitudes towards the participation in social activities, accessibility to information on social activities, family characteristics, and the relationship with family members, While factors found not related to the participation in social activities of the elderly were: age, marital status, people whom the elderly lived with, health status, number of children, status of the elderly in the family and size of the familyen_US
dc.contributor.coadvisorบุญเสริม หุตะแพทย์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Hum-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext 97456.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons