Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11820
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนศักดิ์ สายจำปา | th_TH |
dc.contributor.author | พิชญา ชูแสง, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-02T06:39:44Z | - |
dc.date.available | 2024-04-02T06:39:44Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11820 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ฐานคิดและกลไกในการสร้างระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 2) กลยุทธ์ทางการเมืองของพรรคเพื่อไทยที่มีต่อการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม และ 3) ผลทางการเมืองอันสืบเนื่องมาจากการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมที่มีต่อพรรคเพื่อไทยในการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม 2562 งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะลง ซึ่งผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ ตัวแทนพรรคเพื่อไทย และตัวแทนพรรคการเมืองฝั่งตรงข้ามคือพรรคประชาธิปัตย์ เครื่องมือที่ผู้วิจัยใช้คือแบบสัมภาษณ์ จากนั้นจึงนาข้อมูลที่ได้มาทาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมมีเจตนารมณ์และฐานคิดมาจากการลดความเข้มแข็งของพรรคการเมืองใหญ่ด้วยการนำจำนวน ส.ส. พึงมีมาเป็นฐานคำนวนจำนวน ส.ส. ของแต่ละพรรคการเมือง 2) พรรคเพื่อไทยมีการปรับกลยุทธ์ที่หลากหลาย คือ การใช้ฐานเสียงเดิมและการวางตัวผู้สมัคร กลยุทธ์การชูว่าที่นายกรัฐมนตรี กระจายผู้สมัครในเครือข่ายลงพรรคเล็ก การใช้นโยบายที่เชื่อมโยงกับการบริหารงานตามแบบระบอบทักษิณและการใช้สื่อสังคมออนไลน์ช่วยในการหาเสียง และ 3) พบว่าระบบการเลือกตั้งใหม่ได้สร้างปัญหาและผลกระทบทางการเมืองอย่างมากให้กับพรรคเพื่อไทยคือไม่สามารถเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลได้ ดังนั้นระบบการเลือกตั้งนี้จึงถือว่าไม่เป็นธรรมต่อพรรคเพื่อไทยและทางออกของปัญหาคือการแก้รัฐธรรมนูญ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | พรรคเพื่อไทย | th_TH |
dc.subject | การเลือกตั้ง--ไทย | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมกับผลทางการเมืองของพรรคเพื่อไทยในการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562 | th_TH |
dc.title.alternative | Mixed member apportionment system election with the political results of Pheu Thai Party in the 24 March 2019 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study are to study the followings: 1) the thinking bases and mechanisms for create a Mixed Member Proportional Representation (MMP) in Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560; 2) the political strategy of the Pheu Thai Party towards MMP; and 3) political outcomes as a result of MMP elections on the Pheu Thai Party in the March 24, 2019 The study used a qualitative approach with descriptive statistical analysis. Data was gathered from documents and interviewing key informants and using the method of selecting a specific sample. The key information providers are Pheu Thai Party representatives and the representatives from its main riveal, namely the Democrat. The researcher collected data through an interview. The study found that 1) one of the motives of the new electoral system the is to the strength of the major political parties by using the number of members of the House of Representatives as a base for calculating the number of MPs of each political party. 2) Pheu Thai Party has adjusted various strategies such as namely using the same vote base and positioning the candidates and Prime Minister's strategies and distributing candidates in the network into smaller parties and use of policies linked to the Thaksin regime and the use of social media to aid in the campaign and 3) the new electoral system has created problems and has a huge political impact on the Pheu Thai Party. Therefore, this electoral system is considered unfair to the Pheu Thai Party and the solution to the problem is to amend the constitution. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License