Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัลลิกา มัสอูดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอรุณรัตน์ วิเชียรเขียว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษณะ พ่วงรักษา, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T08:42:36Z-
dc.date.available2022-08-27T08:42:36Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1183-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติศาสตร์การเมืองของมณฑลพายัพ สมัย พระเจ้าอินทวิชยานนท์ (2) ประวัติศาสตร์สังคมของมณฑลพายัพสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ โดยศึกษาจาก คร่าวรับเสด็จพระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นพิชิตปรีชากร ของพระยาพรหมโวหาร วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ พระราชหัตถเลขา ศุภอักษร สารตรา และจากเอกสารชั้นรอง ได้แก่ วิทยานิพนธ์ วรรณกรรมร่วมสมัยกับคร่าวฯ หนังสือ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประวัติศาสตร์การเมืองมณฑลพายัพในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ สะท้อนภาพทางการเมืองการปกครองของกลุ่มเจ้านาย “เจ้าขันห้าใบ” และกลุ่มขุนนาง “เค้าสนามหลวง” รัชกาล ที่ 5 ทรงเริ่มเข้าไปมีอำนาจทางการปกครองเหนือกลุ่มอำนาจเดิมในมณฑลพายัพโดยการส่ง “ข้าหลวงสามหัว เมือง ”จากกรุงเทพฯ เข้ามาใน พ.ศ.2417 และส่ง “ข้าหลวงพิเศษ” เป็นผู้แทนพระองค์เข้ามาใน พ.ศ.2426 มีพิธีถือ น้ำพระพิพัฒน์สัตยาของหัวเมืองสำคัญของสยามที่เมืองกำแพงเพชร มีร่องรอยของการทำไม้สักที่เมืองลำปาง สภาพทางการเมืองในเมืองเชียงใหม่ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ราบรื่น (2) ทางด้านประวัติศาสตร์สังคม มณฑลพายัพสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์คร่าวสะท้อนภาพสังคมหลากหลาย ได้แก่ ชนชั้นในสังคมทั้งชนชั้น มูลนายและชนชั้นไพร่และกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ระบบเงินตราที่ใช้ในมณฑลพายัพ ประตูเมืองในวิจัยนี้พบว่ามี การทำพิธีทูลพระขวัญซึ่งเป็นการให้เกียรติ และต้อนรับแขกเมืองที่เป็นพระราชวงศ์ชั้นสูงจากสยามเป็นครั้ง แรก ประกอบด้วยวัฒนธรรมทางดนตรี ซึ่งใช้วงกลองคุม ประโคมนำขบวนรับเสด็จ ประเพณีสงกรานต์ซึ่งเป็น การขึ้นปีใหม่ ทั้งของไทยและล้านนา การใช้ฤกษ์ยามและปฏิทินทางจันทรคติ เป็นหลักฐานสำคัญในการระบุ วัน เดือน ปี เพื่อเปรียบเทียบกับทางสุริยคติ และวิจัยนี้มีการค้นพบหลักฐานใหม่ เรื่องผู้ที่นำของพระราชทาน จากรัชกาลที่ 5 พระราชทานให้พระราชชายาเจ้าดารารัศมีไม่ใช่พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นพิชิตปรีชากรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.156-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectอินทวิชยานนท์, พระเจ้าth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกษัตริย์และผู้ครองนคร--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectไทย--ประวัติศาสตร์--ล้านนา, 2416-2440th_TH
dc.subjectเชียงใหม่--ประวัติศาสตร์th_TH
dc.subjectเชียงใหม่--การเมืองและการปกครองth_TH
dc.titleประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมมณฑลพายัพสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ : ศึกษาจากคร่าวรับเสด็จ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิชิตปรีชากรth_TH
dc.title.alternativeThe political and social history of MonthonPhayap in the reign of Prince Inthawichchayanon : a study from the Royal Welcome Khrao for Prince Phichitpreechakornth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.156-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study : 1) the political history; and 2)the social history of MonthonPhayap in the reign of Prince Inthawichchayanon as reflected in the the Royal Welcome Khrao (a kind of Lanna-style poem) for Prince Phichitpreechakorn written by Phraya Phromwoharn. This was a qualitative research based on the study of primary historical documents such as royal letters, official documents, and the vassal King’s letters; and from secondary documents such as theses, books and literaturecontemporary with the Royal Welcome Khrao.The data were analyzed by descriptiveanalysis. The results of the research were:1.the political images reflected in the poem, for example, the governance by the “Jaokhanhabai Group”and the“Khaosanamluang Group,” the Sending of three governors and a representative of King Rama V to MonthonPhayap in 1874 and in 1883 respectively; the Sacramental Water Ceremony held in Kamphangphet; and the vestige of a Lampang Forestry concession, indicate a period of rather peaceful politics and in the reign of Prince Inthawichchayanon.2.The social images reflected in the poem consist of portrayals of the various classes of people, different ethnic groups, the money system, and the city gate. The poem reveals that people of the time held the first ceremony to welcome royalty from Siam and depicts the music culture involved with that ceremony. It also shows that the Lanna people celebrated the Songkranfestival, and they set auspicious dates and times based on a comparison between the lunar calendar and the solarcalendar. This research led to the discovery of new evidence that Prince Phichitpreechakorn was not the one who took the royal gifts from King Rama V to present to Princess Dararatsameeen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (11).pdfเอกสารฉบับเต็ม22.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons