Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1185
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอำไพรัตน์ อักษรพรหมth_TH
dc.contributor.authorวนัชชา เครือหิรัญ, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T08:52:54Z-
dc.date.available2022-08-27T08:52:54Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1185en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับอาการออทิสซึม (2) เพื่อศึกษาทัศนคติ และการปฏิบัติตัวของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นออทิสติก และ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับอาการออทิสซึมและทัศนคติกับการปฏิบัติตัวของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นออทิสติก ประชากร คือ กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพ่อแม่ของเด็กออทิสติก โดยเก็บกลุ่มตัวอย่างจากจำนวนประชากรทั้งหมด จำนวน 150 ที่เป็นพ่อแม่ของเด็กออทิสติกที่พาลูกมารักษาตัวที่โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ และโรงพยาบาลธนบุรึ 2 เครื่องมีอที่ใชัในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีความเชื่อมั่นของเครื่องมือ 0.715 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของ เพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่พ่อแม่มีความรู้เกี่ยวกับอาการออทิสซึมระดับตํ่า และใช้หลักการปฏิบัติในการดูแลเด็กออทิสติกด้วยการยอมรับ ให้ความรัก และความเอาใจใส่ ทัศนคติของพ่อแม่ที่มีถูกเป็นเด็กออทิสติกอยู่ในระดับดี โดยพ่อแม่มีความคิดว่า เด็กออทิสติกสามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ และอยู่ร่วมกับคนในสังคมได้ ถ้าได้รับการพัฒนาที่ถูกต้อง การพาลูกไปฝึกทักษะต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการที่สถานฝึกอยู่เป็นประจำ โดยไม่ได้ปล่อยหน้าที่ในการเลี้ยงดูเด็กออทิสติกให้กับพี่เลี้ยงรับผิดชอบทั้งหมด พ่อแม่มีการปฏิบัติต่อลูกออทิสติกอย่างเหมาะสมในระดับปานกลาง ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการปฏิบัติตัว พบว่า ความรู้เกี่ยวกับอาการออทิสชึมของ พ่อแม่ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตัวของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นเด็กออทิสติก และทัศนคติของพ่อแม่ที่มีถูกเป็นเด็กออทิสติกมีความสัมพันธ์ทางลบกับการปฏิบัติตัวของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นเด็กออทิสติกที่ระรับนัยสำคัญทางสถิติ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.348en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectออทิสติคth_TH
dc.subjectเด็ก--การดูแลth_TH
dc.subjectเด็ก--โรคth_TH
dc.titleความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตัวของพ่อแม่ที่มีลูกเป็นออทิสติกth_TH
dc.title.alternativeKnowledge, attitudes and practices of autistic children parentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.348-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the knowledge about the autism of parents; (2) to study the attitudes and the practices of autistic children parents; and (3) to study the correlation among the knowledge, attitudes and practices of autistic children parents. The population were 150 autistic children parents. Example group is autistic children parent who followed up at Mcttapracharak hospital and Thonburi 2 hospital. Data was collected from all of the population. The instrument was a questionnaire, developed by the researcher with reliability of 0.715. The data were analyzer by frequency, percentage, mean, standard deviation and the Pearson’s product moment correlation coefficient. The result of research findings indicated that most of parents had knowledge at low level but they quiet understood how to supervise, concede, love and pay attention to their autistic children. While the attitudes of the autistic children parents was at a good level. The parents indicated that autistic children could do social activities and live with others if they had appropriate training, the parents always led their children to be trained at the hospital and didn’t completely leave their children with the care giver. The practices of the parents toward their autistic children was at the moderate level. The autism knowledge of parents didn’t correlation with their practice. But the attitudes of parents negatively correlated with their practice (a = 0.01)en_US
dc.contributor.coadvisorศิริพร สุวรรณทศth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 99024.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons