Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดาม อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งเกียรติ คุ้มรักษา, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-10T07:22:20Z-
dc.date.available2024-04-10T07:22:20Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11861-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท รอแยลฟู้ดส์ จำกัด 2) เปรียบเทียบปัจจัยด้านลักษณะบุคคล ที่มีต่อความผูกพันของพนักงาน 3) ศึกษาระดับปัจจัยบริหารงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน 4) ศึกษาความสัมพันธ์ของ ปัจจัยบริหารงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ กับระดับความผูกพันของพนักงาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงาน ที่มีระดับ หน้าที่งาน 1 - 6 ของบริษัท รอแยลฟู้ดส์ จำกัด โดยมีประชากรทั้งสิ้น 600 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง คำนวณตามสูตรของยามาเน่ จำนวน 240 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบมาตร ประมาณค่าของลิเคิร์ท การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ตามวิธี LSD และการทดสอบความสัมพันธ์ โดยการหาค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันผลการศึกบาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับผูกพันมาก โดยปัจจัยด้านความจงรักภักดีต่อองค์การมากที่สุด และด้านความคาดหวังต่อองค์การน้อยที่สุด (2) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยานลักษณะบุคคลที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ รายได้ และตำแหน่งหน้าที่ ที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นความ ผูกพันต่อองค์การของพนักงน โดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัย บริหารงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยทุกปัจจัยอยู่ในระดับ ส่งผลต่อความผูกพันมาก โดยปัจจัยด้านทัศนคติมากที่สุด และด้านโอกาส น้อยที่สุด (4) ปัจจัยบริหารงาน ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน โดยภาพรวมมี ความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.01 และเมื่อพิจารณาเป็นราย ด้านพบว่า ปัจจัยบริหารงานด้านลักษณะงาน ด้านทัศนคติ ด้นความยุติธรรม/ความเสมอภาค ด้าน สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย มีระดับความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัจจัยบริหารงานด้านค่าตอบแทน/ สวัสดิการ ด้านภาวะผู้นำ ด้านโอกาสมีระดับความสัมพันธ์อยู่ในระดับต่ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริษัทรอแยลฟู้ดส์ จำกัด--พนักงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleปัจจัยส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทรอแยลฟู้ดส์ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactor affecting employees commitment at Royalfoods Co. Ltden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to: (1) study the level of employees commitment to Royal FoodCo.,Ltd. (2) compare the level of commitment classified by personal characteristics of employees (3) study the relationship between factors affecting employees commitment and the level of employees commitment. This research was a survey research, the sample group was employees who were at 1-6 levels (rank level).The population consisted of 600 employees who work at Royal Food Co. ,Ltd. The 240 employees were selected by using Yamane formula. The instruments that gathered data were questionnaires and a Likert scale. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one way ANOVA (Analysis of Variance), LSD and Pearson Correlation. The results revealed that (1) the level of employees commitment was at a high level in over all. with the highest mean was for the factor of loyalty to organization and the lowest mean was expectation to organization. (2) when compare the level of commitment against personal characteristic, the result revealed the statistically significant difference in gender, age, income and position at the 0.05 level (3) the factors affecting employees commitment in overall and in each factor were at a high level. With the highest mean was for the factor of attitude and the lowest mean was for the factor of work opportunity. (4) with respect to the relationship of factors affecting commitment and the level of commitment, it was of and that there was a positive and moderate relationship between the two at 0.01 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129153.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons