Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งโรจน์ ร่างใหญ่, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-17T04:09:30Z-
dc.date.available2024-04-17T04:09:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11878-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การนำกิจกรรมระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร มา ใช้พัฒนาคุณภาพของการผลิตผลิตภัณฑ์ในห้องน้ำและ (2) ผลการปรับปรุงด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ภายหลังจากการนำกิจกรรมระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กรมาใช้ในแผนกประกันคุณภาพ บริษัท โคห์เลอร์ (ประเทศไทย)จำกัดมหาชน วิธีการศึกษานี้เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากการสอบถามข้อมูลจากผู้จัดการและพนักงานแผนกตรวจสอบคุณภพเกี่ยวกับกระบวนการตรวจสอบและบริหารงนคุณภาพของแผนก และข้อมูลทุดิยภูมิจากการค้นคว้าเอกสารทางวิชาการ แล้วนำมากำหนดกรอบแนวคิดและกำหนดขั้นตอนในการประยุกต์ใช้ระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร เพื่อพัฒนาคุณภาพของการผลิตผลิตภัณฑ์ในห้องน้ำ ของบริษัท โคห์เลอร์ ประเทศไทย จำกัดจากผลการศึกษาพบว่า(1) การนำกิจกรรมระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร มาใช้พัฒนาคุณภาพของการผลิตผลิตภัณฑ์ในห้องน้ำของบริษัท โดห์เลอร์ (ประเทศไทย)จำกัด มหาชน มี ขั้นตอนดังนี้1) ให้การศึกบาแนวคิดระบบบริหารงานคุณภาพทั่ทั้งองค์กรกับผู้บริหารเพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการวางแผนการดำเนินการนำระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กรมาประยุกค์ใช้ภายในองค์กร 2) วินิฉัยระบบบริหารคุณภาพ และวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของบริษัท โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่าแผนภูมิก้างปลานำมาวิเคราะห์ หาข้อมูลในการจัดทำแผนสนับสนุนองค์กร3) สร้งวิสัยทัศน์และจัดทำแผนสนับสนุนองค์กรซึ้งแผนสนับสนุนองค์กร โดยทั้งสองส่วนจะต้องมีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน4) ปฏิบัติงานประจำวันตามแผนสนับสนุนองค์กรที่ได้จัดทำไว้ร) การรักษาสภาพ โดยเมื่อได้มีการจัดทำตามแผนสนับสนุนองค์กรอย่างครบถ้วนแล้วระบบคุณภาพจะต้องมีการรักษาสภาพ ไว้โดยการสุ่มตรวจสอบเป็นระยะ(2) ผลการปรับปรุงด้นคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ภายหลังจากการนำกิจกรรมระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กรมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพของการผลิตสุขภัณฑ์ในห้องน้ำของแผนกตรวจสอบคุณภาพ บริษัทโคห์เลอร์ (ประเทศไทย)จำกัด มหาชน พบว่าหลังจากทำกิจกรรมระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร ส่งผลให้คุณภาพของการผลิตสุขภัณฑ์ในห้องน้ำเพิ่มมากขึ้นคือ1) อัตราส่วนการยอมรับวัดถุดิบจากผู้ขายเพิ่มขึ้น โดยก่อนการใช้ระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร อัตราส่วนการยอมรับวัตถุดิบจากผู้ขายเท่ากับร้อยละ92.1 หลังจากการใช้ระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์ก อัตราส่วนการยอมรับวัตถุดิบจากผู้ขายเท่ากับร้อยละ96.2ซึ้งเพิ่มขึ้นร้อยละ4.12) อัดราส่วนข้อร้องเรียนจากลูกค้าลดลง โคยก่อนการใช้ระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร อัตราส่วนข้อร้องเรียนจากลูกค้ำเท่กับร้อยล: 0. 16หลังจากการใช้ระบบบริหารงนคุณภาพทั่วทั้งองค์กร อัตราส่วนข้อร้องเรียนจากลูกค้าร้อยละ 0.08 ซึ่งลดลงร้อยละ 50th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการบริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectเครื่องสุขภัณฑ์--คุณภาพth_TH
dc.subjectคุณภาพผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวมth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้ระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กรเพื่อพัฒนาคุณภาพของการผลิตผลิตภัณฑ์ในห้องน้ำth_TH
dc.title.alternativeAn application of total quality management for quality development of sanitary ware productionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to use the total quality management activities to improve the quality of sanitary ware production; and (2) to apply the result of product quality improvement after using the total quality management activities for the Quality Assurance Department of Kohler (Thailand) Public Company Limited. The primary data was collected by interviewing managers and staff of Quality Inspection Department about the processes of quality inspection and administration. The secondary data was collected by reviewing the academic document. Subsequently, both data was used to set up the conceptual framework and processes of applying the total quality management system to improve the quality of sanitary ware production of Kohler (Thailand) Public Company Limited. The results showed that (1) there were 5 steps of using the total quality management activities to improve the quality of sanitary ware production: 1) acknowledging the managers about a concept of the total quality management system used as a database of applying total quality management system to internal management plan; 2) diagnosing the quality administration and to analyze the current situation of a company by using Fishbone diagrams for setting up a supporting plan; 3) setting up a vision and a supporting plan which related together; 4) operating daily tasks based on the supporting plan; and 5) maintaining the quality system by random check periodically; and (2) the quality of sanitary ware production increased after using the total quality management activities: 1) the ratio of materials accepted by suppliers was increased total 4.1 percent from 92.1 percent to 96.2 percent; and 2) the complaint from customers was decreased total 50 percent from 0.16 percent to 0.08 percent.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
138466.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons