Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11887
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลักษมี เหล่าอิทธินันท์, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-17T07:17:02Z-
dc.date.available2024-04-17T07:17:02Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11887-
dc.description.abstractการศึกษาพฤติกรรมการชื้อเครื่องสำอางค์ของลูกค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ตครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ของลูกค้าที่ชื้อเครื่องสำอางผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและศึกษาพฤติกรรมของลูกค้าในการซื้อเครื่องสำอางผ่านระบบอินเทอร์เน็ต วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจประชากรเพศ ชาย และ หญิง ซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการชื้อเครื่องลำอางผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ซื้อเครื่องสำอางผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และเป็นประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งที่เป็นสมาชิก หรือไม่เป็นสมาชิกของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเนื่องจากประชากรมีจำนวนมากและไม่ทราบค่าจำนวนที่แน่นอน ผู้วิจัยได้กำหนดขนาดตัวอย่างจำนวน 400 ตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนของประชากร โดยใช้ตารางยามาเนณ ระดับความเชื่อมั่น 95% เลือกตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิดิเชิงพรรณนา ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบ ไอ-สแควร์ ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย จำนวน 90 คน และเพศหญิงจำนวน 310 คน ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 20 - 34 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี เป็นผู้มีรายได้ระหว่าง 10,001-20,000 บาทต่อเดือน ประกอบอาชีพในบริษัทอกชน กลุ่มตัวอย่างเคยซื้อเครื่องลำอางผ่านระบบอินเทอร์เน็ต 335 คน และในจำนวน 65 คน ที่ไม่คยซื้อ พฤติกรรมการซื้อเป็นดังนี้ ผู้ที่ไม่เคยซื้อให้ความคิดเห็นว่าแม้มีโอกาสทดลองซื้อก็ไม่คิดจะทดลองซื้อผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเนื่องจากไม่มีความเชื่อมันในระบบความปลอดภัยส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เคยชื้อมีพฤติกรรมคือนิยมชื้อเครื่องสำอางประเภทบำรุงหน้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมากที่สุด สำหรับขนาดของเครื่องสำอางที่สั่งซื้อคือ ขนาดกลางโดยความถี่ 1 ครั้งต่อเดือนและมีค่าใช้จ่ายต่อเดือน และมีค่าใช้จ่ายเฉลื่ยอยู่ที่ 1,001 – 2,000 บาทต่อครั้ง ผู้ที่มีอิทธิพลต่อการสั่งซื้อคือตนเอง รองลงมาคือ เพื่อน คนรู้จัก และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สั่งซื้อเพื่อใช้เอง เมื่อทำการสั่งซื้อเครื่องสำอางผ่านอินเทอร์เน็ตนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ระบุว่า ถ้าชื้อแล้วได้ผลดีเป็นที่น่าพอใจจะซื้อต่อไปเรื่อยๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเครื่องสำอางth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางของลูกค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ทth_TH
dc.title.alternativeCosmetic purchasing behavior of customer through internet systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122350.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons