Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีรานุช บุดดีจีน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorผกามาศ ผจญแกล้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปารดา ลิมปยารยะ, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T01:44:52Z-
dc.date.available2024-04-18T01:44:52Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11894-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีอุตสาหกรรม)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคนิคคิวเอฟดีและการออกแบบเพื่อมวลชน (UD) ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (2) และทดสอบความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อบรรจุภัณฑ์ปัจจุบันและบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาใหม่ ขั้นตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์โดยใช้เครื่องมือการออกแบบทางวิศวกรรมประกอบด้วย 3 ขั้นตอน (1) การเข้าใจความต้องการของลูกค้าโดยการประยุกต์ใช้เทคนิคคิวเอฟดี (2) การออกแบบโครงสร้างและกราฟิกบรรจุภัณฑ์โดยการออกแบบเพื่อมวลชน (3) การประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อบรรจุภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาใหม่โดยใช้เครื่องมือ Eye tracking ผลวิจัยพบว่า การเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างและด้านกราฟิกบรรจุภัณฑ์สามารถแสดงความเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดระยอง การพัฒนารายละเอียดข้อมูลผลิตภัณฑ์และการใช้สีที่สวยงามสำหรับผู้บริโภคที่มีความหลากหลายกลุ่ม การปรับปรุงโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถใช้งานสะดวก น้ำหนักเบา และมีความปลอดภัยในการใช้งานมากยิ่งขึ้น บรรจุภัณฑ์ใหม่ที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายและความพึงพอใจของผู้บริโภคอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.15) การประยุกต์ใช้เครื่องมือในการออกแบบทางวิศวกรรมโดยเครื่องมือเทคนิคคิวเอฟดีและการออกแบบเพื่อมวลชน ทำให้การปรับปรุงพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบรรจุภัณฑ์--การออกแบบth_TH
dc.titleการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ประจำจังหวัดโดยการประยุกต์ใช้เทคนิคคิวเอฟดีและการออกแบบเพื่อมวลชน : กรณีศึกษา ขนุนทอดปรุงรสอบกรอบ จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeApplication of quality function deployment in development of packaging and universal design : a case study of crispy fried jackfruit in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to apply the tools Quality Functional Deployment (QFD) and Universal Design (UD) techniques in packaging design and (2) to survey the consumer satisfaction with a comparison between current packaging and new packaging by using in-depth interview technique. The method uses engineering design tools. Three processes were implemented: (1) understanding customer requirements by applying the QFD technique, (2) the technical requirement in terms of structural and graphics packaging by using UD design principles and (3) consumer satisfaction by using the Eye-tracking technology. The results showed that the structural and graphic packaging changed to represent Rayong province. The information product details improved to clearly for a variety of customers. The structure was easy to use, lightweight and had higher security and protection. The new design aligned with the target customers, and the satisfaction of the consumer's score was an outstanding level (Mean value 4.15). The contributions of this research are to improve the packaging design by using the engineering design tools with QFD and UD for understanding customers and develop structural and graphic packaging for improving customer satisfactionen_US
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons