Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11897
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฐาปนา ฉิ่นไพศาล | th_TH |
dc.contributor.author | วราพร ฤทธิ์เดช, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-18T01:56:38Z | - |
dc.date.available | 2024-04-18T01:56:38Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11897 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ) ศึกษาพฤติกรรมการออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด 2) ศึกษาด้านความรู้ความเข้าใจในการออมทางด้านปัจยส่วนบุคคลและลักษณะทางเศรษฐกิจครัวเรือน 3) ศึกษาด้านความเชื่อการออมทางด้านปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะทางเศรษฐกิจครัวเรือน 4) ศึกษาด้านพฤติกรรมการออมทางด้านปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะทางเศรษฐกิจครัวเรือน การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรในการศึกษา คือ สมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด ที่มาใช้บริการด้านการรับฝากเงิน มีจำนวน 678 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเลือกแบบบังเอิญ จำนวน 252 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคำ t - test. One-way ANOVA และทคสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุมากกว่า 40 ปี ขึ้นไป สถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับราชการ มีพฤติกรรมการออม คือ มีการฝากออมทรัพย์ อย่างสม่ำเสมอ (2) ด้านความรู้ความเข้าใจในการออมทางด้านปัจจัขส่วนบุคลและลักษณะทางเศรษฐกิจครัวเรือน พบว่า สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด มีความรู้ความเข้าใจในการออมทรัพย์เป็นอย่างดี การออมทรัพย์เป็นการลดความเสี่ยงทางการเงิน อัตราผลตอบแทนเป็นเหตุผลหลักในการตัดสินใจเลือกรูปแบบการออม (3) ด้านความเชื่อการออมทางด้านปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะทางเศรษฐกิจครัวเรือน คือ เชื่อว่าการออมทรัพย์คือการสร้างความมั่นคงทางการเงิน ให้กับตนเองและครอบครัว อัตราผลตอบแทนมีความแน่นอนมากกว่าการออมนอกระบบ (4) ด้านพฤติกรรมการออมทางด้านปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะทางเศรษฐกิจครัวเรือน พบว่า เพศ ระดับการศึกษาแตกต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมการออมในด้านความรู้/ความเข้าใจในการออม แตกต่างกัน ส่วนอายุ ระยะเวลาการเป็นสมาชิก และจำนวนหุ้นในสหกรณ์แตกต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมการออมในด้านความเชื่อการออมแตกต่างกัน ขณะที่สถานภาพ อาชีพแตกต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมการออมแตกต่างกัน อีกทั้งรายจ่าขครัวเรือนรวมต่อเดือนและมีหนี้สินแตกต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมการออมในด้านความเชื่อการออมแตกต่างกันและจำนวนสมาชิกในครัวเรือนแตกต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมการออมทุกด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การประหยัดและการออม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการออมของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Saving behavior of Samut Songkhram Public Health Saving Cooperative Limited’s members | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study are as follows: 1) to study the saving behavior of Samut Songkhram Public Health Saving Cooperative Limited’s members; 2) to study the saving knowledge and understanding based on personal factors and economic characteristics of households; 3) to study the saving belief based on personal factors and economic characteristics of households; and 4) to study the saving behavior based on personal factors and economic characteristics of households. This independent study is a survey research. Population of this study is 678 members of Samut Songkhram Public Health Saving Cooperative Limited, who visited to use the depository service. The 252 samples are selected by using accidental sampling method. The questionnaire is applied as a tool for data collection whereas statistics to be applied in this study include percentage, mean, standard deviation, t-Test, one-way ANOVA, additionally, LSD is applied to make pairwise comparison of population. The study results showed that (1) most respondents were females with age over 40 years, having married status, education in Bachelor's degree, occupation as civil officer and consistent saving behavior; (2) the members of Samut Songkhram Public Health Saving Cooperative Limited have good knowledge and understanding about saving that it helps to reduce financial risk, and the rate of return is the main reason for choosing the savings model; (3)the members believed that saving will create financial security for themselves and their families, and the rate of return is more stable than the informal saving sources; (4) different genders and education levels affected the different saving behaviors in terms of knowledge and understanding issues, whereas different age, membership duration, number of Cooperative’s shares, total amount of household’s monthly expenditure and liabilities affected the different saving behaviors in terms of saving beliefs. Different status and occupation affected the different saving behaviors and the different number of household members affected the different saving behaviors on all aspects with 0.05 statistically significant level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
159665.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License