Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth_TH
dc.contributor.authorศุภสวัสดิ์ กาญวิจิต, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T02:16:31Z-
dc.date.available2024-04-18T02:16:31Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11900en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบหน้าที่การบริหารจัดการสมองของนักเรียนที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาหน้าที่การบริหารจัดการสมอง และ (2) เปรียบเทียบหน้าที่การบริหารจัดการสมองของนักเรียนที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวที่ใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาหน้าที่การบริหารจัดการสมองกับนักเรียนที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวที่ไม่ใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาหน้าที่การบริหารจัดการสมอง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ที่มีคะแนนจากแบบสังเกตพฤติกรรมก้าวร้าวในระดับมากที่สุดจนถึงระดับปานกลาง จำนวน 16 คน จากนั้นจึงสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน เท่ากัน กลุ่มทดลองใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยา จำนวน 11 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที กลุ่มควบคุมดำชีวิตตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แบบวัดหน้าที่การบริหารจัดการสมอง (2) แบบสังเกตพฤติกรรมก้าวร้าว และ (3) ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาหน้าที่การบริหารจัดการสมอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาหน้าที่การบริหารจัดการสมอง นักเรียนมีหน้าที่การบริหารจัดการสมองสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ภายหลังการใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาหน้าที่การบริหารจัดการสมอง นักเรียนมีหน้าที่การบริหารจัดการสมองสูงขึ้นกว่านักเรียนที่ไม่ใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมนิยม (จิตวิทยา)--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดฝึกอบรมทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาหน้าที่การบริหารจัดการสมองของนักเรียนที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a psychological training package for enhancing executive function of Matthayom Suksa II students with aggressive behaviors in a schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาทางจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the executive brain function levels of students with aggressive behavior before and after using a psychological training package for enhancing executive brain function; and (2) to compare the executive brain function level of students with aggressive behaviour who used psychological training package and students with aggressive behavior students without using the package. The sample consisted of 16 students in Mathayom Suksa II of a school, who had aggressive behavior scores as assessed by an aggressive behaviour observation form at the highest to moderate levels. Then, they were randomly assigned into an experimental group and a control group, with 8 students in each group. The experimental group used a psychological training package for enhancing executive brain function consisting of 11 sessions each with 60 minutes in each session, while the control group students lived in the normal lifestyle. The employed research instruments were (1) a measurement form to assess executive brain function; (2) an observation form to assess aggressive behaviour; and (3) a psychological training package for enhancing executive brain function. Statistics for data analysis were median, inter-quartile deviation, Wilcoxon matched-pairs signed-ranks test, and Mann-Whitney U Test. Research findings revealed that (1) after using the psychological training package for enhancing executive brain function, the students with aggressive behavior had higher executive brain function with statistical significance at .05 level; and (2) after using the psychological training package for enhancing executive brain function, the students with aggressive behavior had executive brain function higher than the students who did not use the package with statistical significance at .05 levelen_US
dc.contributor.coadvisorจิระสุข สุขสวัสดิ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons