Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวรรณี ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรพงษ์ กลํ่าบุตร, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T02:36:13Z-
dc.date.available2024-04-18T02:36:13Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11903-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นภาระงาน และ (2) เปรียบเทียบความใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นภาระงาน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวัชรวิทยา จังหวัดกำแพงเพชร 1 ห้องเรียน จำนวน 31 คน ซึ่งได้มาโดยสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์ (2) แบบวัดความใฝ่เรียนรู้ และ (3) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยโดยเน้นภาระงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนรู้โดยเน้นภาระงานหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนรู้โดยเน้นภาระงานหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาไทย--การเขียน--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นภาระงานที่มีต่อความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์และความใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using the task-based learning on Thai language creative writing ability and avidity for learning of grade 10 students in The Secondary Educational Service Area Office Kamphaeng Phet Kamphaeng Phet Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare Thai language creative writing ability of grade-10 students before and after learning through the task-based learning; and (2) compare the avidity for learning of grade-10 students before and after learning through the task-based learning. The research sample consisted of 31 grade 10 students studying in the first semester of the academic year 2021 at Watcharawittaya school in Kamphaeng Phet province selected by multi-stage sampling. The employed research instruments were (1) a Thai language creative writing ability test, (2) an avidity assessment form and (3) lesson plans based on task-based learning. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The results showed that (1) Thai language creative writing ability of grade-10 students after learning through the task-based learning was higher than their pre-learning counterpart at the .05 level of statistical significance; and (2) the avidity for learning of grade 10 students after learning through the task-based learning was higher than their pre-learning counterpart at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons