Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเศก ศรีสำราญ, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T02:56:02Z-
dc.date.available2024-04-18T02:56:02Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11909-
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด (2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางยกระดับแรงจูงใจของพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด ซึ่งเป็นแรงงานก่อสร้างรายวันจากไซด์งานก่อสร้างของ บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด ที่นิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี มีจำนวน 128 คน การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้ใช้สูตรคำนวณของเครซี่และมอร์แกน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 97 หน่วย และใช้วิธีกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็นโดยการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติอ้างอิงหรือสถิติอนุมาน ทดสอบค่าที และทดสอบค่าเอฟ สำหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า (1) แรงจูงใจของพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านสภาพงานและลักษณะของงานอยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือด้านการได้รับยกย่องอยู่ในระดับปานกลาง (2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด ที่มีต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ ภูมิลำเนา ระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน ความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) เสนอแนะแนวทางยกระดับแรงจูงใจของพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัด ผู้ศึกษาเห็นควรพิจารณาปรับค่าแรงตามหน้าที่และลักษณะของการทำงานในด้านต่างๆ และควรมีบริการตรวจสุขภาพจากสถานพยาบาลทุกเดือน เพื่อให้ความมั่นใจแก่พนักงานพร้อมที่จะปฏิบัติงานให้กับองค์การอย่างมีประสิทธิภาพ และเห็นควรมีโบนัสประจำเดือนหรือประจำไซด์ให้แก่พนักงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท ฉัตรากรุ๊ป จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to work motivation of employees of Chattra Group Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to study the level of work motivation of employees of Chattra Group Company Limited; 2) to compare the work motivation of employees of Chattra Group Company Limited classified by personal factors; and 3) to propose the guideline to enhance work motivation of employees of Chattra Group Company Limited The population of in this study was 128 daily construction workers from the construction site of Chattra Group Company Limited at Nava Nakorn Industrial Estate, Pathumthani Province. The sample was 97 daily construction workers calculated by using Krejcie and Morgan’s formula determined by the non-probability sample with purposive sampling. Questionnaires were used for data collection and the statistics using for data analysis were frequency, percentage, and standard deviation, and inferential statistic of t-test, F-test, and one-way analysis of variance. The results of the study found that 1) work motivation of employees of Chattra Group Company Limited was overall at a high level, while the relationship between workers was at highest level, followed by condition and characteristic of work was at high level and the least was the respect from other was at moderate level; 2) comparing the work motivation of employees of Chattra Group Company Limited classified by personal factors found that employees who had different of gender, age, education, marriage status, income, habitation, and duration of work had no different of work motivation, while employees who had different level of education had different of work motivation at significant level of 0.05, and 3) the guideline to enhance work motivation of employees of Chattra Group Company Limited was increase the wage by duty and job characteristic, health checkup from the hospital every month, and bonus each month or each construction site in order to encourage the employees’ work motivation.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161244.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons