Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11910
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เฉลิมพล จตุพร | th_TH |
dc.contributor.author | ภัทร จองถวัลย์, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-18T03:02:11Z | - |
dc.date.available | 2024-04-18T03:02:11Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11910 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาวะเศรษฐกิจและตัวชี้วัดความยั่งยืนของกลุ่มประเทศอาเซียน และ (2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของกลุ่มประเทศอาเซียนตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ครอบคลุมในประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การศึกษาใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาภาคตัดขวางอย่างต่อเนื่องหรือข้อมูลพาแนลของกลุ่มประเทศอาเซียน จำนวน 10 ประเทศ เริ่มตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2551 – 2560 โดยตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน ประกอบด้วย อัตราการเติบโตของจีดีพีต่อหัว อัตราเงินเฟ้อต่อจีดีพี ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ อัตราการจ้างงานประชากรอายุมากกว่า 15 ปี ต่อประชากรทั้งหมด อายุขัยประชากรเพศชาย อายุขัยประชากรเพศหญิง สัดส่วนพื้นที่ป่าไม้ต่อขนาดพื้นที่ประเทศ ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และปริมาณการจับสัตว์น้ำ และวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางเศรษฐมิติ ได้แก่ การตรวจสอบความหยุดนิ่งของข้อมูล การสร้างตัวแบบประมาณค่าพารามิเตอร์ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ตามลำดับ ผลการศึกษาเชิงประจักษ์ (1) อาเซียนได้มีวิวัฒนาการในการรวมกลุ่มเพื่อความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยแสดงเจตนารมณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และ (2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน พบว่า ตัวชี้วัดความยั่งยืนด้านความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการและอัตราการจ้างงานประชากรอายุมากกว่า 15 ปี ต่อประชากรทั้งหมดมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียน ในทางกลับกัน การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศกลุ่มอาเซียนมีผลต่อตัวชี้วัด ความยั่งยืนด้านอายุขัยของประชากรเพศชายและเพศหญิง ข้อเสนอแนะพบว่าอาเซียนควรมีนโยบายการบริหารจัดการกองทุนเพื่อให้การช่วยเหลือและพัฒนาประเทศสมาชิก รวมทั้งให้ความสำคัญกับการเพิ่มผลิตภาพแรงงานเพื่อสร้างความได้เปรียบสำหรับการเป็นฐานการผลิตระดับภูมิภาค | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กลุ่มประเทศอาเซียน--ภาวะเศรษฐกิจ | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของกลุ่มประเทศอาเซียน | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between economic growth and sustainable development index in ASEAN Countries | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was (1) to study the economic conditions and sustainable development indicators of the ASEAN countries and (2) to analyze the relationship between economic growth and sustainable development indicators in ASEAN countries based on the Sustainable Development Goals (SDGs) This study is an economic quantitative research, using time-series cross-sectional data or panel data of 10 ASEAN countries from 2008 – 2017, with 9 sustainable development indicators comprised of Growth rate of real GDP per capita in PPS, Inflation rate, Official development assistance, Employment Rate of population (over 15 years old), Life expectancy rate at birth: male, Life expectancy rate at birth: female, Ratio of forest area to total land area, Co2 Emission and Total fishery production. The econometric analysis consisted of the stationary test using the LLC Unit Root and the Granger Causality test, respectively. The empirical study found that (1) the ASEAN countries have evolved and integrated for the purpose of political-security, economic and socio-cultural community, yet declared to advance the economy along with the priority policies to accomplish the SDGs (2) the analysis of the relationship between economic growth and sustainable development indicators has shown that sustainable development indicators of the official development assistance and the employment to population ratio (Over 15 years old) affected the economic growth of ASEAN countries at a statistical level of 0.05. On the other hand, the economic growth of ASEAN countries affected the sustainable indicators of the life expectancy rate at birth for male and female at a statistical level of 0.1. Suggestions from this study, ASEAN should emphasis on policy of aid fund allocation to develop the member countries’ economies, as well as raise the ASEAN labor productivity to gain competitiveness as industry production base of the region | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อภิญญา วนเศรษฐ | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License