Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิทักษ์ ศรีสุขใส, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัชนีวรรณ ศรีอุบลมาศ, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T03:09:25Z-
dc.date.available2024-04-18T03:09:25Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11912-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาทั่วไปของการชำระหนี้ภาษีอากรของนิติบุคคลในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก 2) เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการก่อหนี้นอกระบบของนิติบุคคลในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้นิติบุคคลค้างชำระหนี้ต่อกรมสรรพากรในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ในการศึกษาในครั้งนี้ได้เลือกใช้วิธีเก็บข้อมูลจากการสำรวจกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนิติบุคคลที่มีหนี้ภาษีอากรค้างในปี 2559 ในพื้นที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่พิษณุโลก จำนวน 194 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้บริหารส่วนใหญ่ของนิติบุคคลส่วนใหญ่เป็นเพศชาย กิจการส่วนใหญ่เป็นกลุ่มรับเหมาก่อสร้าง และเปิดดำเนินกิจการมากกว่า 10 ปีขึ้นไป รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 100,001 ถึง 500,000 บาท นิติบุคคลร้อยละ 25.85 กู้เงินนอกระบบ เพราะกู้ได้ง่ายและเร็วกว่ากู้สถาบันการเงิน 2) ปัจจัยที่ทำให้นิติบุคคลค้างชำระหนี้ภาษีประกอบด้วย กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.5 ไม่มีความรู้เรื่องภาษีอากร ร้อยละ 49.48 เห็นว่าจำนวนค่าปรับและเงินเพิ่มของกรมสรรพากรมีจำนวนสูงมาก ร้อยละ 25.26 มีรายได้ไม่เพียงพอที่จะชำระหนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความสำคัญต่อด้านการเงิน ระดับความสำคัญปานกลาง 3) ปัจจัยที่มีผลต่อการค้างชำระภาษีอากรของนิติบุคคล ได้แก่ หนี้ภาคครัวเรือน ระยะเวลาที่ดำเนินกิจการมากกว่า 10 ปี และระยะเวลาดำเนินกิจการ 6-10 ปี ซึ่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 กิจการในกลุ่มบริการ กิจการในกลุ่มรับเหมาก่อสร้าง ภาวะเศรษฐกิจ ส่งผลต่อการค้างชำระหนี้ทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.1 แต่อัตราดอกเบี้ยส่งผลในทางตรงกันข้ามต่อการค้างชำระหนี้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ ผู้บริหารนิติบุคคลที่เป็นเพศชายมีหนี้ค้างชำระภาษีอากรมากกว่าเพศหญิงเท่ากับ .215 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยตัวแปรอิสระทั้งหมดนี้สามารถพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงของการค้างชำระหนี้ภาษีอากรของนิติบุคลได้ ร้อยละ 30.5th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการผิดนัดชำระหนี้th_TH
dc.subjectการชำระภาษี--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการค้างชำระหนี้ภาษีอากรของนิติบุคคลในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the tax arrears of corporate entities in Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to study (1) general problems in tax arrears of corporate entities in Phitsanulok province area (2) behaviors creating informal debts of corporate entities in Phitsanulok province (3) factors affecting tax arrears of corporate entities in Phitsanulok province. This study was selected to collect data from the survey of a samples of 194 corporate entities who actually made tax arrears since 2016, in turn, they have been listed in the office of Tax Area, Phitsanulok province. The research methodologies were questionnaires distributed for data collection, data analysis for finding frequency, percentage, mean, and standard deviation, and multiple regression model, as well. The result shown that 1) The gender of their CEOs of corporate entities mostly was male. They regularly did the construction business, and have been in business for more than 10 years and earned their monthly income between 100,001–500,000 baht, 25.85% of the corporate entities has selected it is easier and faster to find informal loan resource than seeking loan from financial institution. 2) Factors making corporate entities making tax arrears consisted of these,in that; 44.5% of the samples has selected “having no knowledge of tax”, 49.98% of the sample has selected “fine and additional tax payment are quite high”, 25.26% of the samples has selected “not enough income for paying tax arrears”. Most of the samples had value the importance of the financial matter which has the middle range. 3) Factors affecting the tax arrears of corporate entities were household debt, running business more than 10 years and running business between 6-10 years in the same direction. They were statistically significant at the level of 0.05. The type of service business, type of general, economic conditions affected the overdue corporate entities in the same direction at the level of 0.01. However, it was found that the interest rate had a statistically significant opposite effect on the corporate entities at the level of 0.05. The CEOs of corporate entities was male who particularly resulted in more corporate entities tax arrears than the female were statistically significant at the level of 0.05. All these independent variables were able to predict changes in corporate entities tax arrears by 30.5 %en_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons