กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11913
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิ่งพร ทองใบ | th_TH |
dc.contributor.author | วิยะดา ตันยะ, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-18T03:10:57Z | - |
dc.date.available | 2024-04-18T03:10:57Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11913 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาลักษณะการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อย (2) เปรียบเทียบลักษณะการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อย โดยจ าแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและ (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาองค์การให้เป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาเชิงส ารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อย มีประชากรทั้งหมด จ านวน 65 คน คำนวณกลุ่ม ตัวอย่าง โดยใช้สูตรคำนวณของ ทำโร่ ยำมำเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างรวมทั้งสิ้น 56 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของข้อมูลตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป ด้วยวิธีการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า (1) ลักษณะการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อย มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด โดยสมำชิกกลุ่ม มีควำมคิดเห็นว่ำ วินัยประกำรที่ 1 ควำมรอบรู้แห่งตน และวินัยประกำรที่ 3 วิสัยทัศน์ร่วม มีผลต่อการเป็นองค์กำรแห่งการเรี ยนรู้ของกลุ่มวิสำหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อยมากที่สุด (2) ลักษณะการเป็นองค์กำรแห่งกำรเรียนรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อยเมื่อจำแนกตำมปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จำนวน 4 ด้ำน ได้แก่ ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษำ และประสบการณ์ทำงาน สรุปได้ว่า สมาชิกกลุ่มวิสำหกิจชุมชน ส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อย ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีลักษณะการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ที่แตกต่ำงกัน (3) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม พบว่ำ กลุ่มควรมีการส่งเสริมให้สมาชิกภายในกลุ่มมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้และควรเพิ่มช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาความรู้ของสมาชิกภายในกลุ่มอย่างทั่วถึง และสม่ำเสมอ เพื่อให้สมาชิกภายในกลุ่มเกิดความรู้ใหม่ ๆ ที่จะใช้เป็นแนวทางในการร่วมกันพัฒนากลุ่มอย่างยังยืน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | วิสาหกิจชุมชน | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาอาชีพ | th_TH |
dc.subject | องค์การแห่งการเรียนรู้ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | องค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อย | th_TH |
dc.title.alternative | Learning organization of community enterprise Ban Had Kai Toy | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the learning organization Community Enterprise Ban Had Kai Toy Career Promotion Group (2) to compare the learning organization characteristics of community enterprises to promote home care Community Enterprise Ban Had Kai Toy By classifying by personal factors and (3) to suggest guidelines for developing the organization to be a learning organization. This study Using a survey study method The population used in the study was members of the Community Enterprise Promotion Group, Ban Hat Kai Toy Village. With a total population of 65 people. Calculate sample By using the formula of Taro Yamane, a total of 56 samples using simple random sampling methods. The statistics used in data analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation One-way variance And testing the difference in the average value of data from 2 groups or more with the method of testing the difference between the average method of Sheffield. The results of the research showed that the characteristics of being a learning organization of the members of the community group promoting career in Ban Had Kai Toy with the highest level of opinion. The group members have opinions that discipline 1. Knowledge of yourself And discipline.Third, shared vision Affecting the learning organization of the community group, promoting the career of Ban Had Kai Toy and the learning organization of the community group to promote the career of Ban Had Kai Toy. When classified by personal factors, it was found that there were 4 significant statistics at the level of 0.05, namely Gender, age, education level And work experience. In conclusion, members of the community enterprise promotion group of Ban Had Kai Toy To with different personal factors There is a different learning organization. Additional suggestions found that groups should encourage members within the group to participate in building the organization to be a learning organization and should increase channels for dissemination of information that helps to develop knowledge of members within the group thoroughly and regularly so that members within the group will have new knowledge that will be used as a guideline for joint development of the group Sustainable. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
161267.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.91 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License