Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิศนันท์ อุปรมัยth_TH
dc.contributor.authorสุรัตติยา ภูอุภัย, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T03:29:41Z-
dc.date.available2024-04-18T03:29:41Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11918en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้ค้าส่งในตลาดแตงโมโคกดอนหัน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ และ (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อของผู้ค้าส่งในตลาดแตงโมโคกดอนหัน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ศึกษาคือ ผู้ค้าส่งที่ซื้อแตงโมในตลาดแตงโมโคกดอนหัน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของคอแครน ได้จำนวน 384 ราย และเพื่อให้ครอบคลุมในการประเมินและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาจึงใช้กลุ่มตัวอยางทั้งหมด 400 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าไคสแควร์ และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้ค้าส่งในตลาดแตงโมโคกดอนหัน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้ค้าส่งในตลาดแตงโมโคกดอนหัน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการซื้อสินค้า--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectแตงโม--ไทย--กาฬสินธุ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อของผู้ค้าส่งในตลาดแตงโม โคกดอกหัน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting decision buying in watermelon Khokdonhan market, Amphoe Yangtalad, Kalasin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the demography factors that related to buying decision process; and (2) marketing mix factors that affecting buying decision of the distributors in Khokdonhan Watermelon Market, Amphoe Yangtalad, Kalasin Province. The study was a survey research. The sample population were distributors who came to buy watermelon in Watermelon Khokdonhan Market. Due to certainly unknown population, cochran sampling technique was used to draw 384 sample. In order to effectively evaluated and analyzed data, the researcher used 400 distributors as sample, obtained by convenience sampling. The employed research instrument was questionnaires. The statistical questionnaires that was used to analyze the data were ratio, percentage, average, standard deviation, chi-square and correlation coefficient analysis. The study suggested that: (1) demography factors such as gender, age, status, level of education and estimate salary related to buying decision process of the distributors in the Watermelon Khokdonhan Market was statistically significant at 0.05 level; and (2) marketing mix factors including product, price, distribution and sale promotion was statistically significant at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161283.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons