Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ กีระพงษ์th_TH
dc.contributor.authorชุติมา ดีสวัสดิ์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T04:04:01Z-
dc.date.available2024-04-18T04:04:01Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11928-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลและบรรยากาศความปลอดภัยจากการติดเชื้อ (2) พฤติกรรมความปลอดภัยจากการติดเชื้อ และ (3) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลและบรรยากาศความปลอดภัยต่อพฤติกรรมความปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของบุคลากรในโรงพยาบาลบุรีรัมย์ ประชากร คือ บุคลากรโรงพยาบาลบุรีรัมย์ จำนวน 2,384 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 388 คน ได้จากการสุ่มแบบชั้นภูมิตามกลุ่มการให้บริการ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ที่มีค่าความเที่ยงด้านบรรยากาศความปลอดภัย และพฤติกรรมความปลอดภัยจากการติดเชื้อ เท่ากับ 0.93 และ 0.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า (1) บุคลากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 39.04 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ 68.7 เป็นพยาบาล ร้อยละ 36.1 ปฏิบัติงานที่แผนกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน มากกว่าร้อยละ 60 มีประสบการณ์ทำงานโรงพยาบาลเฉลี่ย 11.65 ปี ไม่มีประสบการณ์ทำงานควบคุมป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล ร้อยละ 60.6 และหน่วยงานมีบรรยากาศความปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับสูง (2) บุคลากรมีพฤติกรรมความปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับสูง และ (3) บรรยากาศความปลอดภัยจากการติดเชื้อ และประสบการณ์การทำงานมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงตามลำดับคือ บรรยากาศความปลอดภัยและประสบการณ์การทำงานควบคุมป้องกันการติดเชื้อ (β= 0.67 และ 0.11) โดยสามารถร่วมกันอธิบายได้ร้อยละ 46.9 (R2 = 46.9)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการติดเชื้อโคโรนาไวรัส--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของบุคลากรในโรงพยาบาลบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting safety behaviors for preventing novel coronavirus-2019 infection among personnel in Buriram Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis survey research aimed to examine: (1) personal attributes and safety climate, (2) safety behaviors in response to novel coronavirus-2019 infection, and (3) factors affecting such safety behaviors, all among personnel in Buriram Hospital. The study involved a sample 388 staff members selected using stratified sampling from all 2,384 medical service personnel in the hospital. Data were collected through an online questionnaire whose reliability coefficients for safety climate and safety behaviors were 0.93 and 0.84, respectively, and then analyzed with descriptive statistics and stepwise multiple regression. The results revealed that: (1) Among all respondents with the mean age of 39.04 years, most of them were female, 68.7% had completed a bachelor’s degree or equivalent, 36.1% were nurses, more than 60% had been working in inpatient and outpatient departments, had 11.65 years of hospital working experience on average, and 60.6% had no experience in hospital infection control. The safety climate related to novel coronavirus-2019 infection was at the high level. (2) Personnel’s safety behaviors in response to novel coronavirus-2019 infection were at the high level. (3) Factors significantly affecting safety behaviors for preventing novel coronavirus-2019 infection were safety climate and infection control experiences (α = 0.05; beta = 0.67 and 0.11, respectively). Both factors could explain 46.9% of the results (R2= 46.9)en_US
dc.contributor.coadvisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons