Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1192
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | น้ำทิพย์ วิภาวิน | th_TH |
dc.contributor.author | ปะราลี ปาละสุวรรณ, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T14:04:38Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T14:04:38Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1192 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้และปัญหาการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่องานบริการสารสนเทศของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) เปรียบเทียบการใช้และปัญหาการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่องานบริการสารสนเทศของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตามตัวแปรระดับการศึกษา ฝ่ายการทำงาน และประสบการณ์การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กลุ่มตัวอย่างคือบรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติหน้าที่บริการสารสนเทศในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 26 แห่ง โดยวิธีการสุ่มแบบจัดชั้นจำนวน 223 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยพบว่า 1) บรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่องานบริการสารสนเทศโดยรวมในระดับปานกลาง พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีการใช้เฟซบุ๊ก สูงสุดในระดับมากรองลงมา ยูทูป เอ็มเอสเอ็น และเว็บบอร์ด ในระดับปานกลาง 2) ผลการเปรียบเทียบการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของบรรณารักษ์พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในตัวแปรระดับการศึกษาและฝ่ายการทำงาน โดยบรรณารักษ์ผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากกว่าบรรรณารักษ์ที่จบการศึกษาระดับ ปริญญาโท และบรรณารักษ์ฝ่ายการทำงานอื่น ๆ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากกว่าบรรณารักษ์ฝ่ายงานเทคนิค 3) ปัญหาการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่องานบริการสารสนเทศของบรรณารักษ์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามีปัญหาด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านบุคคล และด้านบริหารจัดการในระดับปาน กลาง และ 4) ผลการเปรียบเทียบปัญหาการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่องานบริการสารสนเทศของบรรณารักษ์ไม่พบความแตกต่างในทุกตัวแปร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.128 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เครือข่ายสังคมออนไลน์ | th_TH |
dc.subject | บริการสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | สถาบันอุดมศึกษา | th_TH |
dc.title | การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่องานบริการสารสนเทศของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | th_TH |
dc.title.alternative | Use of social networks for information services by librarians of the Public University Libraries in Bangkok Metropolis and Vicinity | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.128 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research has the following objectives: 1) to study the use of and problems in using online social networks for the information services of librarians in Public University Libraries in Bangkok Metropolis and Vicinity, 2) to compare the said use and problems with the variables of educational level, department/section of work, and experience in using online social networks. The sampling group was librarians with information service duties in 26 libraries in Public University Libraries in Bangkok Metropolis and Vicinity. Classified random sampling was used in the sampling of 223 librarians. The tool used in data collection was a questionnaire. The statistics used in data analysis were frequency distribution, percentage, standard variation values, t-test and one-way analysis of variance. The research results were as follows: 1) Librarians of the Public University used online social networks at the medium level. The use of Facebook was at the high level, followed by YouTube, MSN and Webboards at the moderate level. 2) A comparison of the online social network use of librarians was found to be different at the significant level of .05 in the variable of educational level and work section. Librarians with a bachelor’s degree in education used online social networks more than those with a higher level of education than a bachelor’s degree. Also, librarians in other work sections used social networks more than librarians in sections of technical work. 3) The problems of online social network use for information services of librarians were at the medium level overall, especially the problem of how to share knowledge. Personnel. and administrative problems were at the medium level overall and 4) The comparison of problems did not reveal any difference in any of the variables. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พวา พันธุ์เมฆา | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (6).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License