Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11935
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกนกพร แจ่มสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุกัญญา สบายสุข, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T06:41:16Z-
dc.date.available2024-04-18T06:41:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11935-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการส่งเวร ระหว่างพยาบาลห้องฉุกเฉินกับหอผู้ป่วยโดยใช้รูปแบบ ไอ เอส บา ต่อคุณภาพการส่งเวร ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าเวร สถาบันโรคทรวงอก กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าเวรอย่างน้อย 1 ปี โดยปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าเวรห้องฉุกเฉิน 12 คน และหอผู้ป่วยอายุรกรรมหัวใจ 8 คน รวม 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้แก่ 1) โปรแกรมการส่งเวรโดยใช้รูปแบบ ไอ เอส บา ประกอบด้วยประกอบด้วย (1) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเวรโดยใช้รูปแบบ ไอ เอส บา (2) คู่มือการส่งเวร โดยใช้รูปแบบ ไอ เอส บา (3) กลุ่มสำหรับผู้เข้าอบรมในแอพพลิเคชั่นไลน์ และ 2) แบบประเมินคุณภาพการส่งเวรโดยใช้รูปแบบ ไอ เอส บา ตามการรับรู้ของพยาบาล ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล 7 ข้อ (2) ความถูกต้อง ครบถ้วน ของข้อมูลที่ส่งเวร 25 ข้อ (3) ความสามารถในการนำข้อมูลไปใช้เพื่อให้การพยาบาลต่อเนื่อง 3 ข้อ และ (4) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ซึ่งเป็นคำถามปลายเปิด ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของแบบประเมินทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 ทดสอบค่าความเที่ยงกับพยาบาลวิชาชีพที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา .83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติทดสอบวิลคอกสันผลการวิจัยพบว่าหลังการส่งเวรโดยใช้รูปแบบ ไอ เอส บา คุณภาพการส่งเวรของพยาบาลหัวหน้าเวรห้องฉุกเฉินไปยังพยาบาลหัวหน้าเวร ณ หอผู้ป่วยอายุรกรรมหัวใจสูงกว่าก่อนการใช้ รูปแบบทั้งโดยรวมและรายด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การส่งเวรด้วยรูปแบบ ไอ เอส บา ช่วยเพิ่มคุณภาพการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการส่งต่อผู้ป่วยth_TH
dc.titleผลของการส่งเวรระหว่างพยาบาลห้องฉุกเฉินกับหอผู้ป่วย โดยใช้รูปแบบ ไอ เอส บา ต่อคุณภาพการส่งเวร ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าเวรสถาบันโรคทรวงอกth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using the ISBAR model for handover of patients between emergency room and in-patient units on shift report quality of in-charge nurses, Central Chest Institute of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this quasi-experimental research was to study the effects of using the ISBAR Model for handing over patients between emergency room and in-patient units on shift report quality as perceived by in-charge nurses at the Central Chest Institute of Thailand. The sample included twenty in-charge nurses who had worked more than 1 year at the position, comprising twelve from the emergency room and eight from cardiology wards. The research instruments, developed by the researcher, were: 1) ISBAR Model for handover program which consisted of (1). A workshop to teach about shift report using the ISBAR Model; (2) A manual for handover of patients by using the ISBAR Model; and (3). A group for all participants in the Line application. 2) The quality assessment form on using the ISBAR Model as perceived by nurses. It consists of 4 parts: (1). Personal information (7 items); (2). The accuracy and completeness of the information submitted (25 items); (3). Ability to use information for continuing nursing (3 items); and (4). Problems, obstacles, and recommendations, which were open-ended questions. Content validity of all instruments was verified by 3 experts. The content validity was 0.99. Cronbach alpha reliability score was 0.83. Data were analyzed by using descriptive statistics and Wilcoxon test statistics. The results found that after using the ISBAR Model, the overall score and each part of shift reports quality for handover of patients from the emergency room to cardiology wards as perceived by in-charge nurses were significantly higher than those before using the ISBAR Model (P<0.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons